การพัฒนาวิธีการตรวจสอบกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย โดยเทคนิคโปรติโอมิกส์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-008.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาวิธีการตรวจสอบกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย โดยเทคนิคโปรติโอมิกส์
บทคัดย่อ :

การวิเคราะห์ทางด้านสรีรวิทยาและโปรติโอมิกส์ในใบและเปลือกของลาไยสายพันธุ์ดอ (Dimocarpus longan Lour. var. Daw) ที่บ้านภูดิน อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยนี้เปรียบเทียบตรวจสอบกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลาไยหลังได้รับสังกะสี และโบรอน ที่ความเข้มข้น (w/w) 0% (T1), 0.1% B (T2), 0.2% B (T3), 0.1% Zn (T4), 0.2% Zn (T5), 0.1% B + 0.1% Zn (T6) และ 0.2% B + 0.2% Zn (T7) ของใบในระยะการเจริญเติบโตของใบลาไยตั้งแต่ 0, 8, 16, 24 และ 28 สัปดาห์ ตามลาดับ และของผลในระยะการเจริญเติบโตของลาไยหลังการติดช่อผล (1, 2 และ 4 เดือน ตามลาดับ) พบว่าในบางช่วงสัปดาห์และบางกลุ่มทดสอบตลอดการทดลอง และลักษณะสีของใบลาไย (L, a และ b) ในบางกลุ่มทดสอบ แตกต่างในระยะที่ 8 และ 16 สัปดาห์ ตามลาดับ อย่างไรก็ตามการศึกษาด้านปริมาณโปรตีนด้วยวิธีลาวรี่ พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญระหว่างกลุ่มทดสอบ กับกลุ่มที่ผิดปกติตลอดทุกระยะการศึกษา สาหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการแยกโปรตีนแบบ 1 มิติ (1-D gel) ของตัวอย่างโปรตีน 80 ?g ในสภาวะรีดิวซ์ ที่เจล 12.5 % ย้อมด้วย Coomassie brilliant blue R-250 พบว่าในใบมีการแสดงออกของแถบโปรตีนบนเจล ขนาดเฉลี่ย 18.60 KDa ซึ่งเป็นโปรตีน vegetative storage protein (25.17 KDa) มีค่าลดลงในกลุ่มที่ได้รับโบรอน และสังกะสีผลการทดลองปรากฏว่าลักษณะทางกายภาพ (ความกว้าง ความยาว และน้าหนัก) ของผลลาไยในทุกกลุ่มไม่แตกต่างกันตลอด 4 เดือน ส่วนการศึกษาด้านปริมาณโปรตีนด้วยวิธีลาวรี่ พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญระหว่างกลุ่มที่ได้รับโบรอนและสังกะสี (T2-T7) กับกลุ่มที่ผิดปกติ สาหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการแยกโปรตีนแบบ 1 มิติ (1-D gel) ของตัวอย่างโปรตีน 10 ?g หลังกระบวนการคลีนอัพในสภาวะรีดิวซ์ ที่เจล 12.5 % โดยย้อมด้วย Coomassie brilliant blue G-250 ตามด้วยเทคนิค MS/MS พบว่ามีการแสดงออกของโปรตีนขนาด 25.16 kDa ในกลุ่มที่ได้รับสารโบรอน และซิงค์ (T7) มีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่มีอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลาไย (T1) ตลอด 4 เดือนหลังการติดช่อผล ซึ่งมีความสอดคล้องกับค่าสีแดง (a) ที่ลดลงของเปลือกลาไย สาหรับการศึกษาด้วยเทคนิค Western blotting ยังไม่มีความชัดเจนของผลการทดลองเนื่องจากประสบปัญหาเกี่ยวกับแอนติบอดี้ที่ใช้ ที่ต้องมีการปรับปรุงต่อไป

คำสำคัญ : อาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย สังกะสี โบรอน คุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของผลลำไย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of detection methods for physiological disorder syndromes of longan peel skin by proteomics technique
Abstract :

Physiological and Proteomic analysis were studied in longan peel (Dimocarpus longan Lour. Var. Daw) from Ban Phu Din, Mae Taeng District, Chiang Mai Province. This research compared the physiological disorder of longan peel after Zn and B treatments were applied at concentration (w/w) 0% (T1), 0.1% B (T2), 0.2% B (T3), 0.1% Zn (T4), 0.2% Zn (T5), 0.1% B + 0.1% Zn (T6) and 0.2% B + 0.2% Zn (T7) on longan leaves of treatment period at 0, 8, 16, 24 and 28 weeks, respectively, and on fruit growth period of longan after fruiting (1, 2 and 4 months, respectively) in some weeks and treatments on throughout experiment and the color value of longan leaves (L, a and b) in these treatments had significant compared to T1 at 8 and 16 weeks, respectively. Protein content study by Lowry method was found that no significant difference was between groups receiving boron and zinc treatments and the abnormal group. Protein separation by using one dimensional electrophoresis (1-D gel) of 80 ?g proteins in reducing sample conditions at 12.5% gel staining with Coomassie brilliantblue R-250 indicated that 18.60 Kda of protein band in gel expression (vegetative storage protein, 25.17 KDa) was decreased in groups receiving boron and zinc treatments.

Physical characteristics (width, length and weight) in long fruit of all groups were not different for 4 months. Protein content study by Lowry method was found that no significant difference was between groups receiving boron and zinc treatments (T2-T7) and the abnormal group. Protein separation by using one dimensional electrophoresis (1-D gel) of 10 ?g protein samples after cleanup processes in reducing sample conditions at 12.5% gel by using staining with Coomassie brilliant blue G-250 indicated that 20.83 kDa of protein band expression was decreased in group receiving boron and zinc treatment (T7) compared to the group of physiological disorder syndromes of longan peel skin (T1) throughout the 4 months after fruiting. This result had accordance with the decreased red value (a) of the longan peel. The results of Western blotting techniques are unclear due to problems with the antibodies being used. Therefore, further improvements are needed.

Keyword : Physiological disorder syndromes of longan peel skin, Zinc, Boron, Physical and chemical fruit quality of longan
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.เอกวิทย์ ตรีเนตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 นายสิริวัฒน์ บุญชัยศรี
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยพะเยา
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา แกล้วกล้า
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023