การลดการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพ ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายในระบบถังปฎิกรณ์ชีวภาพแสง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-063
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การลดการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพ ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายในระบบถังปฎิกรณ์ชีวภาพแสง
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบต้นแบบในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

จากระบบผลิตก๊าซชีวภาพด้วยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายและทดสอบสมรรถนะการกำจัดก๊าซ

คาร์บอนไดออกไซด์ด้วยสาหร่าย โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยประกอบด้วย

การออกแบบระบบการเลี้ยงสาหร่ายแบบท่อปฏิกรณ์แสงประกอบด้วยระบบกำจัดก๊าซ

ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ถังพักสาหร่ายพร้อมระบบเก็บก๊าซชีวภาพ ระบบหมุนเวียนน้ำสาหร่ายแบบ

ปรับอัตราหารไหลด้วยอินเวอร์เตอร์ ระบบท่อปฏิกรณ์แสงและระบบให้แสงเทียมสำหรับสาหร่าย

ขณะที่การทดสอบสมรรถนะของระบบเพาะเลี้ยง ได้มีการทดสอบหาประสิทธิภาพในการกำจัด

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประสิทธิภาพในการเพิ่มก๊าซมีเทนและอัตราการเติบโตของสาหร่าย

ภายใต้เงื่อนไขการทดสอบที่สภาวะต่างๆ

ผลการทดลองพบว่า ระบบการเลี้ยงสาหร่ายแบบท่อปฏิกรณ์แสงสามารถปรับอัตราการ

ไหลของสาหร่ายได้ระหว่าง 20-34 L/min เมื่อไหลผ่านท่อเวนจูรี่สามารถดูดเอาก๊าซชีวภาพเข้าไป

ผสมได้ในอัตราระหว่าง 6-14 L/min โดยที่จำนวนของเซลล์สาหร่ายไม่มีการเสียและสูญหาย ส่วน

ระบบให้แสงชนิด COB LED สามารถให้ความเข้มแสงได้ในระดับ 40 -240 ?mol m-2s-1 และตลอด

การทดลองพบว่าทั้งประสิทธิภาพในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และประสิทธิภาพในการ

เพิ่มก๊าซมีเทนที่ดีที่สุดคือการเพาะเลี้ยงสาหร่ายภายใต้แสงสีแดง+น้ำเงิน รองลงมาคือสีแดงและ

ภายใต้แสงสีน้ำเงินเป็นลำดับสุดท้าย

คำสำคัญ : ท่อปฏิกรณ์แสง , สาหร่ายคลอเรลล่าเอสพี การดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และระบบแสงเทียม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Reduction of carbon dioxide emission from biogas production process with microalgae cultivation in photobioreactor
Abstract :

The objectives of this research are to develop a prototype system for the capturing carbon

dioxide from the biogas production system by algae cultivation and testing the efficiency of carbon

dioxide capturing by algae.

The experimental process consists of the design a photobioreactor for algea cultivation, a

sulfur dioxide removal system, algae tank with biogas storage system, circulation system with

adjustable flow rate inverter and artificial lighting system for algae cultivation. While, the

experimental performances comprise the efficiency of carbon dioxide capturing, the efficiency of

methane gas improving and algae growth rate under various conditions.

The experimental results show that the flow rate of algae in photobioreactor system could

adjust between 20-34 L/min that this volume of flow rate is flow via a ventury while the flow rate

of biogas also feed in the same way between 6-14 L/min and the amount of algea cells is not

damaged and lost. The artificial lighting system can provide light intensity at levels 40 -240 umol

m-2s-1. Fanally, throughout the experiment, it was found that the best of both of the efficiency in the

capturing of carbon dioxide and the efficiency of improving methane is the cultivation of algae

under red + blue light condition and followed by red light and the blue light in the last.

Keyword : Photobioreactor, Chlorella sp. Carbon dioxide capture and artificial lighting
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.ชวโรจน์ ใจสิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 นายนรินทร์ ปิ่นแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ สำนักงานคณบดีคณะบริหารธุรกิจ งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
263,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 263,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023