การบัญชีสิ่งแวดล้อมและการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมของกิจการอุตสาหกรรม ในภาคเหนือของประเทศไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-056
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การบัญชีสิ่งแวดล้อมและการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมของกิจการอุตสาหกรรม ในภาคเหนือของประเทศไทย
บทคัดย่อ :

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อมและต้นทุนสิ่งแวดล้อม และการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและการรายงานทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินด้านสิ่งแวดล้อมของกิจการอุตสาหกรรมในภาคเหนือของประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการวิจัยและการสัมภาษณ์เชิงลึก ศึกษาบริษัทตัวอย่างจานวน 225 บริษัท หน่วยที่ทาการศึกษาคือบริษัทจากัดในภาคเหนือ ผู้ให้ข้อมูลคือผู้บริหารของกิจการ ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดที่ทาให้กิจการริเริ่มการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมคือ การจัดทาบัญชีเพื่อแสดงรายละเอียดค่าใช้จ่ายทางด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยที่สาคัญที่สุดที่ทาให้กิจการริเริ่มการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมทางด้านการปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของกิจการคือการกาหนดแผนงานของการศึกษาและฝึกอบรมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ส่วนปัจจัยที่ผู้บริหารเห็นว่ามีอิทธิพลต่อการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมของกิจการมากที่สุดคือปัจจัยทางมิติด้านลูกค้า ได้แก่ปัจจัยภาพลักษณ์ของกิจการด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมซึ่งมีผลต่อการยอมรับของลูกค้า และมิติการกากับดูแลกิจการได้แก่ปัจจัยการพัฒนาความรู้ทางด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมให้กับพนักงานผลการวิเคราะห์สมการถดถอย พบว่า ประการแรก การกากับดูแลกิจการด้านสิ่งแวดล้อม และแรงกระตุ้นจากผู้มีส่วนได้เสียมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการตัดสินใจทาบัญชีสิ่งแวดล้อมของกิจการ ประการที่สองพบว่าตัวแปรการริเริ่มการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศ กฎหมายระดับประเทศและระดับสากล และแรงกระตุ้นจากผู้มีส่วนได้เสีย มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการตัดสินใจเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของกิจการ และประการที่สาม ตัวแปรการริเริ่มการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศ และการกากับดูแลกิจการมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท นอกจากนี้ ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกที่ใช้การวิเคราะห์เนื้อหายืนยันผลการศึกษาเชิงปริมาณ ผลการศึกษาผู้บริหารจานวน 21 คน เปิดเผยว่ากฎหมายระดับประเทศและระดับนานาชาติ การกากับดูแลกิจการ และแรงกระตุ้นจากผู้มีส่วนได้เสียมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหารในการจัดทาบัญชี การรายงานและเปิดเผยข้อมูล และการจัดทาข้อมูลต้นทุนทางด้านสิ่งแวดล้อม แต่ในสภาพปัจจุบันพบว่า บริษัทยังไม่มีแนวทางปฏิบัติในการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อม กิจการเปิดเผยและรายงานข้อมูลการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพียงเท่าที่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ ข้อกาหนด และกฎหมายกาหนดไว้ และการเปิดเผยข้อมูลของกิจการด้านสิ่งแวดล้อมเป็นกระแสสังคมและสร้างภาพลักษณ์ให้กับกิจการ หากกิจการจะมีการกากับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมและทาบัญชีอย่างเป็นระบบในอนาคตต้องอาศัยความพร้อมทางด้านเงินทุนและทรัพยากรบุคคล และมีบริษัทขนาดใหญ่เป็นต้นแบบ

คำสำคัญ : การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม การรายงานเพื่อความยั่งยืน ความรับผิดชอบต่อสังคม การกากับดูแลกิจการ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Environmental Accounting and Environmental Disclosure of Industrial Enterprises in the North of Thailand
Abstract :

The purposes of this research study is to investigate factors impacting on environmental accounting and environmental cost management; environmental disclosure; and financial and non-financial reports that are related to environmental issues of industrial firms in the northern part of Thailand. The mixed-method approach were applied to the study in order to collect necessary data from sample firms. The unit of analysis were 225 sample firms. Research results showed that conducting accounting reports that included details of environmental expenses, and establishing environmental management plans for employee learning and training were the most influential factors for firm initiation in environmental accounting, and the most influential factors that made firms include environmental practices in their organizations, respectively. In addition, administrators suggested that the most influential factors in environmental disclosure were: firm image about environmental conservation (in the customer dimension) which impacted on customeracceptance, and employee development towards environmental management (in the corporate governance dimension).

Regression analysis results revealed that: 1) corporate environmental governance and stakeholder motivation had positive relationship with firm decisions to conduct environmental accounting; 2) national initiative in environmental accounting, national and international law, and stakeholder motivation had positive relationship with firm decisions towards environmental disclosure; and 3) national initiative in environmental accounting, and corporate governance had negative relationship with environmental costs of the firms. Furthermore, analysis of in-depth interview by means of content analysis confirmed the same results as those of the quantitative analysis. Twenty-one administrators agreed that national and international law, corporate governance, and stakeholder motivation had influences on administrative decisions to conduct environmental accounting, environmental reports, environmental disclosure, and environmental-cost presentation. However, the study found that the sample firms had no practical approaches to conduct environmental accounting. They disclosed and reported not all but only some environmental management issues that were required by regulations and law. Environmental disclosure was considered the social trend and firm image building. Therefore, in order for firms to systematically conduct corporate environmental governance and environmental accounting, they need financial and human capital as well as a model of best practices from larger firms.

Keyword : Environmental management accounting, Sustainability reporting, Corporate social responsibility, Corporate governance
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนียา บังเมฆ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตตินุช ชุลิกาวิทย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
246,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 246,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023