ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต องค์ประกอบทางเคมี คุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ และคุณค่าทางโภชนาการของจิงจูฉ่าย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-050
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต องค์ประกอบทางเคมี คุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ และคุณค่าทางโภชนาการของจิงจูฉ่าย
บทคัดย่อ :

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ทำการศึกษาผลของความเข้มแสง (ร้อยละ 30, 40, 50 และ 100) ต่อการเจริญเติบโต องค์ประกอบทางเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และ คุณค่าทางโภชนาการในจิงจูฉ่าย โดยทำการวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (CRD) จำนวน 3 ซํ้า จากผลการทดลองพบว่า ความเข้มแสงที่ร้อยละ 40 มีผลทำให้จิงจูฉ่ายมีการเจริญเติบโตทางด้าน ความสูงของต้น ความยาวก้าน ขนาดทรงพุ่ม นํ้าหนักผลผลิตสดและแห้งมากที่สุด ในขณะที่ความเข้มแสงร้อยละ 100 มีผลทำให้จิงจูฉ่ายมีการแตกหน่อมากที่สุด

องค์ประกอบของสารเคมีที่พบในนํ้ามันหอมระเหยในต้นจิงจูฉ่าย เมื่อทำการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง GC-MS พบสารสำคัญหลัก ได้แก่ ?-farnesene, caryophyllene, santolina triene, ?-sesquiphellandrene และ germacrene D โดยที่ความเข้มแสงร้อยละ 50 มีแนวโน้มพบ ?-farnesene, ?-sesquiphellandrene และ germacrene D ในปริมาณมาก ส่วนที่ความเข้มแสงร้อยละ 100 และ 40 มีแนวโน้มพบสาร caryophyllene และ santolina triene ในปริมาณมาก ตามลำดับ

สำหรับปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม จะมีค่ามากที่สุดเมื่อทำการปลูกจิงจูฉ่ายที่ความเข้มแสงร้อยละ 50 โดยมีค่าปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมเท่ากับ 13.24 ? 0.64 mgGAE/ g DWในส่วนของฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และ ABTS จะให้ค่าการยับยั้งมากที่สุดเมื่อทำการปลูกจิงจูฉ่ายที่ความเข้มแสงร้อยละ 50 และ 40 ตามลำดับ โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 45.45 ? 1.88 และ 38.00 ? 2.60 mg/ mL ตามลำดับ

สำหรับคุณค่าทางโภชนาการในจิงจูฉ่ายนั้นพบว่า ปริมาณเส้นใย คาร์โบไฮเดรต และพลังงาน จะมีค่าสูงสุดเมื่อปลูกในสภาวะที่ได้รับแสงร้อยละ 40 ส่วนปริมาณของความชื้น และไขมัน จะมีค่าสูงสุดเมื่อปลูกให้ได้รับแสงร้อยละ 30 โดยปริมาณโปรตีน และ เถ้า ที่ระดับความเข้มแสงต่างกันมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ

คำสำคัญ : จิงจูฉ่าย ความเข้มแสง คุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ คุณค่าทางโภชนาการ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effect of Light Intensity on Growth, Chemical Compositions, Antioxidant Capacity and Nutritive Value of Artemisia lactiflora
Abstract :

The purpose of this research was to investigate the effect of light intensity (30, 40, 50 and 100%) on growth, chemical composition, antioxidant capacity and nutritive value of Artemisia lactiflora. The experiment was performanced in Completely Randomized Design: (CRD) with three replications. The results showed that the treatment with light intensity at 40% was given a highest of plant height, length of branch, size of canopy, fresh and dry weight. Whereas, the tiller number was highest in the treatment with 100% of light intensity.

The composition of essential oil was analyzed by using GC-MS. The main composition detected were ?-farnesene, caryophyllene, santolina triene, ?-sesquiphellandrene and germacrene D. The treatment with light intensity at 50% was interned to give a highest of ?-farnesene, ?-sesquiphellandrene and germacrene D. Whereas, the treatment with 100% and 40% of light intensity were interned to give a highest of caryophyllene and santolina triene, respectively.

The total phenolic content was highest at 50% of light intensity and found to be 13.24 ? 0.64 mgGAE/ g DW. The DPPH and ABTS radical scavenging activities were highest at thetreatment with light intensity at 50% and 40%, respectively. The IC50 were to be

45.45 ? 1.88 and 38.00 ? 2.60 mg/mL, respectively.

The nutritive value of Artemisia lactiflora showed that crude fiber, carbohydrate and energy were highest in the treatment with 40% of light intensity. Moisture and fat were highest at the treatment with light intensity at 30%. Whereas, protein and ash were not different significant at light intensity.

Keyword : Artemisia lactiflora., light intensity, antioxidant content, Nutritive value
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี อารีศรีสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
40 ไม่ระบุ
2 ดร.นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.วาริน สุทนต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.กอบลาภ อารีศรีสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 อาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
19 พฤศจิกายน 2561
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : ประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17 19-21พฤศจิ
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
1 เมษายน 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 
ฉบับที่ : วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 2563 : 38 (2) : 139-145
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023