การพัฒนาและออกแบบเครื่องมือเพื่อแปรรูปสมุนไพรโดยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-133
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาและออกแบบเครื่องมือเพื่อแปรรูปสมุนไพรโดยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
บทคัดย่อ :

การพัฒนาและออกแบบเครื่องมือเพื่อแปรรูปสมุนไพรโดยการประยุกต์ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นการศึกษา วิจัย ออกแบบ และพัฒนาเครื่องมือการแปรรูปสมุนไพรโดยการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และเป็นต้นแบบเครื่องมือแปรรูปสมุนไพรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่ชุมชนในการนาสมุนไพรไปใช้ประโยชน์และเพื่อการจัดทาผลิตภัณฑ์ชุมชนต่อไปซึ่งจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้ที่สนใจในการจัดสร้างเครื่องบดสมุนไพรให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น การผลิตชุดเครื่องมือบดสมุนไพรโดยใช้มอเตอร์ขนาด 250 วัตต์ ขนาด 24 โวลท์ โดยมีความเร็วรอบ 150 รอบต่อนาที ใช้จานบดขนาด 5 นิ้ว ความสามารถในการบดขมิ้นต่อครั้ง ๆ ละ 5 กิโลกรัม ใช้จานวนครั้งในการบดซ้ารวม 3 ครั้งจึงจะมีความละเอียดได้ขนาดที่เหมาะสมสามารถนาไปใช้งานได้ ในแต่ละครั้งจะใช้เวลาในการบด 7 นาที ได้ปริมาณผงขมิ้น ครั้งที่ 1 4.9 กิโลกรัม ครั้งที่ 2 4.5 กิโลกรัมและครั้งที่ 3 คงเหลือผงขมิ้น 4.2 กิโลกรัม แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าขณะที่โซล่าร์เซลล์จ่ายพลังงานให้กับแบตเตอรี่ต่าง ๆ โดยค่าแรงดันไฟฟ้าที่มีค่าสูงอยู่ในช่วงตั้งแต่ 12.00 – 13.00 น. ค่าแรงดันไฟฟ้ามีค่ามากก็จะทาให้กระแสไฟฟ้ามีค่ามากเช่นเดียวกัน ค่าไฟฟ้าจากเครื่องบดน้าพริกแกงขนาด 250 วัตต์ขนาด 24 โวลท์มีความเร็วรอบ 450 รอบต่อนาที มีค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการบดสมุนไพร 5 ชั่วโมง ต่อวัน 4.65 บาทต่อวัน การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต่อวันในการใช้เครื่องบดสมุนไพร หากใช้ระบบของการเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้าโซล่าร์เซลล์ จะมีค่าใช้จ่ายเพียงค่าบารุงรักษาเครื่อง ในขณะที่ หากเปลี่ยนระบบแปลงไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) มาเป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ของเครื่องบดน้าพริกแกง จะมีค่าใช้จ่ายต่อวัน 19.65 บาท

คำสำคัญ : พลังงานแสงอาทิตย์ , การแปรรูปสมุนไพร , การพัฒนาและออกแบบ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development and Design tools for herbal products bySolar Applications
Abstract :

The Development and design of the herb transfiguration tools using solar energy is a study, research, design, and development of the herb transfiguration tools using solar energy as a prototype of the solar transfiguration tool for the community to beneficially use the herb and to develop community products which will also be beneficial for the interested person to further develop community products in creating a better quality herb grinder.

The herb grinder tool set can be produced by using 250 watts and 24 volts motor with the rasper speed of 150 rounds per minute along with the 5 inches grinder plate with curmin grinding capacity of 5 kilograms per time which has to be grinded 3 times until it is fine enough to be used. It takes 7 minutes for each grinding to give curmin powder; the first grinding gave 4.9 kgs., the second grinding gave 4.5 kgs., and the third gave grinding 4.2 kgs. The electrical pressure and the electrical current were high during 12.00-13.00 pm, that means the high electrical pressure would also give high electrical current. The electrical voltage from the curry grinder at the size of 250 watts and 24 volts with the rasper speed of 450 rounds per minute costs 4.65 baht per day for the electrical fee for 5 grinding hours. The comparison of the electrical fee per day in using the herb grinder; if using the solar cell system, there will only be a machine maintenance fee. For the curry grinding machine, if changing from the AC electrical system to DC electrical system, the cost per day is 19.65 baht.

Keyword : Solar energy, Herb Transfiguration, The Development and Design.
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายทวิช เตี่ยไพบูลย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / งานบริหารและธุรการ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
80 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.บุญศิลป์ จิตตะประพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
246,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 246,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023