การคัดเลือกแป้งข้าวสาลีบดทั้งเมล็ดจากข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เพื่อทำขนมปังโฮลวีท

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-125
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การคัดเลือกแป้งข้าวสาลีบดทั้งเมล็ดจากข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เพื่อทำขนมปังโฮลวีท
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ตรวจหาองค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางโภชนาการของแป้งข้าวสาลีบดทั้งเมล็ดสาย

พันธุ์แม่โจ้ ทำขนมปัง ศึกษาลักษณะของขนมปัง และประเมินความชอบของผู้บริโภค ศึกษาการย่อยและ

ปลดปล่อยน้ำตาลกลูโคสจากขนมปังเพื่อจำลองการย่อยสลายในร่างกาย พบว่าข้าวสาลีสายพันธุ์แม่โจ้ส่วน

ใหญ่มีปริมาณแป้งและไขมันต่ำกว่ามาตรฐาน ในขณะที่มีโปรตีนอยู่ในระดับมาตรฐานที่เหมาะกับการทำ

ขนมปัง และพบว่าด้วยวิธีการบดข้าวสาลีทั้งเมล็ดทำให้ปริมาณเส้นใยและเกลือแร่ของข้าวสาลีสายพันธุ์แม่

โจ้ทุกชนิดมีปริมาณมากกว่าแป้งทางการค้าซึ่งแสดงถึงการเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ขนมปังจากแป้งข้าว

สาลีสายพันธุ์ MJU5 ให้ลักษณะขนมปังที่ดีใกล้เคียงกับขนมปังจากข้าวสาลีขาวทางการค้าและได้รับความ

ชื่นชอบรองจากขนมปังขาว ในขณะที่ขนมปังจากข้าวสาลีสายพันธุ์ MJU6 ใช้เวลาในการปลดปล่อยกลูโคส

นานที่สุดถึง 50 นาที ในขณะที่ขนมปังส่วนใหญ่ใช้เวลาเพียง 20 นาที แสดงให้เห็นว่า MJU6 มีศักยภาพใน

การทำเป็นแป้งโฮลวีทที่ดีต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก แต่ขนมปังที่ได้จากแป้งข้าวสาลีสายพันธุ์ MJU6 ได้รับ

ความนิยมต่ำที่สุด

คำสำคัญ : ขนมปังโฮลวีท ข้าวสาลี แป้งข้าวสาลีบดทั้งเมล็ด แป้งโฮลวีท สายพันธุ์แม่โจ้
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Selection of the wholemeal wheat flour from the wheat varieties, Maejo for whole wheat baking
Abstract :

This research examined the chemical compositions and nutritional values of whole

wheat flours from Maejo wheat varieties. Breads were performed, their features were

compared and consumer assessment were evaluated. Digestion and releasing of glucose

from the breads as simulation of degradation in the body were also studied. It was found

that most of the Maejo wheat varieties had substandard starch and fat contents. While the

proteins are at the standard level which make they are suitable for making breads.

Moreover, from the grinding the whole wheat grain, the amount of fiber and minerals of all

types of Maejo wheat species are higher than that of commercial starch, indicating that it

is a healthy food. Bread from MJU5 wheat flour has good characteristics similar to that of

commercial white wheat bread and has been favored after white bread. While the MJU6

wheat bread took the longest time to release glucose for up to 50 minutes, while most of

the bread took only 2 0 minutes, indicating that MJU6 has the potential to make good

whole wheat flour which very good for health. But the bread made from the MJU6 wheat

flour was the least popular.

Keyword : Whole wheat bread, wheat, Wholemeal flour, Whole wheat flour, Maejo varieties
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์กัญญา บุตราช
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรลดา วงค์สถาน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทุเรียน ทาเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
171,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 171,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023