การศึกษาความเป็นไปได้ของการบำบัดน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรด้วยพืชน้ำที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-109
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาความเป็นไปได้ของการบำบัดน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรด้วยพืชน้ำที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการบาบัดทิ้งจากฟาร์มสุกรด้วยระบบบึงประดิษฐ์แบบน้าไหลขึ้นด้วยพืชน้าที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พืชน้าที่น่าสนใจจานวน 3 ชนิดได้ถูกใช้ในการทดลอง ได้แก่ คล้าน้า กกราชินี และบัวอเมซอน ในการทดลองตอนที่ 1 พืชน้าถูกปลูกโดยใช้น้าทิ้งจากระบบบาบัดน้าเสียไร้อากาศ ด้วยระดับความเข้มข้น 0, 25, 50, 75 และ 100% ผลการทดลองพบว่า พืชน้าทั้งหมดสามารถทนทานและเจริญเติบโตได้ดีในน้าทิ้งที่ระดับความเข้มข้นสูงๆ โดยเฉพาะที่ระดับความเข้มข้น 100% (v/v) การทดลองในตอนที่ 2 เป็นการศึกษาเปรียบเทียบการเจริญและประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียระหว่างบึงประดิษฐ์ที่มีพืชต่างชนิดกัน พบว่า คล้าน้า มีประสิทธิภาพในการบาบัดค่า ซีโอดี และฟอสฟอรัส ได้ดี ในขณะที่บัวอเมซอน มีประสิทธิภาพในการบาบัดค่า บีโอดี ของแข็งแขวนลอย และ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ได้ดี และพบว่าเมื่อเพิ่มอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ให้สูงขึ้นหรืออีกนัยหนึ่งลดระยะเวลาการเก็บกักน้าเสียลง พบว่าระบบมีประสิทธิภาพลดลงเล็กน้อย หลังจากการทดลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน คล้าน้า กกราชินี และ บัวอเมซอน ให้ผลผลิต 28, 39 และ 72 กระถาง/ม2 ตามลาดับ พืชน้าที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเหล่านี้มีความเหมาะสมสาหรับการปลูกในบึงประดิษฐ์ในแง่ของเศรษฐกิจเพื่อการปรับปรุงคุณภาพของน้าทิ้งฟาร์มสุกร

คำสำคัญ : น้าเสียฟาร์มสุกร คล้าน้า กกราชินี บัวอเมซอน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Feasibility study on swine wastewater quality improvement by economic aquatic plants
Abstract :

This research aimed to measure the efficiency of swine effluent treatment by vertical up-flow constructed wetland using economic aquatic plants. Three preferable plants were applied: Thalia dealbata, Cyperus alternifolius L. and Echinodorus cordifolius (L.) Griseb. In the first experiment, the aquatic plants were cultivated by the effluent from anaerobically treated swine wastewater at the concentrations of 0, 25, 50, 75, 100% (v/v) dilution. Results showed that all plants could tolerate and grow at high effluent concentrations, especially at the 100% (v/v) concentration. In the second experiment, growth and wastewater removal efficiency were compared among constructed wetland systems with different plants. The results indicated that T. dealbata had the highest removal efficiency in terms of improved COD and phosphorus content. In contrast, E. cordifolius (L.) Griseb was the most effective in BOD, SS, and phosphorus levels. It was found that at higher organic loading rate, due to shorter hydraulic retention time, the removal efficiency was slightly reduced. After 3 months of the experiments, T. dealbata, C. alternifolius L. and E. cordifolius (L.) Griseb yielded biomass of 28, 39 and 72 units/m2, respectively. The economic aquatic plants are suited for the constructed wetland to economically improve the swine wastewater quality.

Keyword : swine wastewater, Thalia dealbata, Cyperus alternifolius L., Echinodorus cordifolius (L.) Griseb.
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิราภรณ์ ชื่นบาล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
45 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐปน ชื่นบาล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
35 ไม่ระบุ
3 นายพนมเทียน ทนคำดี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักงานมหาวิทยาลัย / กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม / งานจัดการสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติใหม่
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
135,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 135,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023