การตัดสินใจเพื่อการผลิตและจำหน่ายลำไยปลอดภัยและลำไยอินทรีย์อย่างเหมาะสมด้วยแนวคิดเกษตรแปลงใหญ่อย่างฉลาด

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-108
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การตัดสินใจเพื่อการผลิตและจำหน่ายลำไยปลอดภัยและลำไยอินทรีย์อย่างเหมาะสมด้วยแนวคิดเกษตรแปลงใหญ่อย่างฉลาด
บทคัดย่อ :

การวิจัยในครั* งนี*มีวัตถุประสงค์เพือทราบถึงสถานการณ์การใช้พื*นทีเพือการปลูกลำไย

อินทรีย์หรือลำไยปลอดภัย แนวนโยบายของรัฐบาล และการตัดสินใจต่อการใช้ทรัพยากรเพือผลิต

ลำไยอย่างฉลาดภายใต้ความไม่แน่นอนหรือความคลุมเครือของข้อมูล โดยอาศัยวิธีการศึกษา

MCDM (Multi-criteria Decision Making) ซึ งประกอบด้วย > ขั*นตอนสำคัญ คือ Y) การกำหนด

น*ำหนักความสำคัญของทางเลือกด้วยวิธี Fuzzy AHP และ >) แบบจำลองหลายวัตถุประสงค์แบบ

หลายช่วงเวลาร่วมกับ extended goal programming(EGP) และ multi-choice goal programming

ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรในพื*นทีศึกษา คือ ต.ท่าเดือ อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ ได้ให้

ความสำคัญกับการปลูกลำไยปลอดภัยในฤดู(ขายสดช่อ) มีน*ำหนักความสำคัญมากทีสุดเท่ากับ

D.iji รองลงมาคือ การปลูกลำไยเคมีนอกฤดู(ขายสดช่อ) D.>kD ส่วนอันดับ i – 4 ได้แก่การขาย

ปลูกลำไยเคมีนอกฤดู(ขายรูดร่วง) และปลูกลำไยปลอดภัยในฤดู(ขายรูดร่วง) ตามลำดับการตัดสินใจต่อการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเหมาะสมภายใต้แนวทางการรวมกลุ่มลำไย

แปลงใหญ่ของเกษตรกรผู้ปลูกลำไยจำนวน 400 ครัวเรือน ในเนื*อทีขนาด 1,500 ไร่ โดยอาศัย

แบบจำลองหลายวัตถุประสงค์แบบหลายช่วงเวลา(Multi-objective and Multi-Period Linear

Programming) ร่วมกับวิธีการเชิงลำดับชั*นแบบคลุมครือ (Fuzzy Analysis Hierarchical Process:

AHP) ผลการศึกษาค้นพบว่า การพยายามเพิมผลตอบแทนหรือการมุ่งผลิตลำไยเพือขายให้กับ

โรงงาน(รูดร่วง)ทำให้เกิดค่าเสียโอกาส(opportunity cost) หรือสูญเสียผลตอบแทนจากการผลิต

ลำไยคุณภาพ(ลำไยเกรด AA หรือขายสดช่อ) ด้วยค่าอัตราการแลกเปลียนเฉลียประมาณ -1.33 ถึง -

1.57 และควรจัดสรรพื*นทีเพือปลูก ลำไยปลอดภัยในฤดูกาล(ขายแบบสดช่อรวมกับรูดร่วง) เพิมขึ*น

อย่างต่อเนืองจากปี แรก i?D ไร่ เพิมขึ*นเป็ น kDD และ kE@ ในปี ที > และ i ตามลำดับ ส่วนการใช้

พื*นทีปลูกลำไยเคมีนอกฤดูกาล(ขายแบบสดช่อรวมกับรูดร่วง) ในปี แรก k>> ไร่(ร้อยละ uD) และมี

แนวโน้มลดลงเป็น ?kD ไร่(ร้อยละ jY) และ iE> ไร่ (ร้อยละ iD) ในปีที > และ i ตามลำดับ

คำสำคัญ : 1) MCDM 2) การปลูกลำไย 3) การโปรแกรมเชิงเส้นหลายวัตถุประสงค์แบบหลายช่วงเวลา 4) การ แลกเปลียน 5) เกษตรแปลงใหญ่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Optimal Decision Making for Production and Distribution of Clean and Organic Longan by using Smart Concept of Managing Large Agricultural plot
Abstract :

This research aimed to know the situation in land usage for organic or clean longan, relevant

government policy, and decision toward smart resource usage under uncertainty or fuzziness of

data. The study employed the method of MCDM (Multi-criteria Decision Making) consisting of

2 important steps i.e. 1) specifying important weight of alternatives by methodology of Fuzzy

AHP, and 2) Multi-objective and multi-period model together with extended goal programming

(EGP) and multi-choice goal programming. The result revealed that agricultural in the studied

areas ( Tambon Tha Duea, Doi Tao District, Chiang Mai) gave the most important weight to

growing in-season clean longan ( of high quality) at 0. 343, followed by off-season inorganic

longan (of high quality) at 0.280 while 3rd and 4th ranks were off-season inorganic longan (of

non-high quality), and off-season clean longan (of non-high quality), respectively.

The study on using production factors appropriately under collaborative longan plantation

(becoming large agricultural land plot) was done on 400 longan growing agriculturist households

in the areas of 1,500 Rais. This study applied the model of Multi-objective and Multi-Period

Linear Programming together with Fuzzy Analysis Hierarchical Process: AHP. The result

revealed that attempt to increase revenue or focusing on producing longan for selling to relevant

factories (longan of non-high quality) caused opportunity cost or losing revenue from producing

longan of high quality (AA Premium Grade) with the average ratio around -1.33 to -1.57. There

should be continuous land allocation for in-season clean longan (for both of high quality and nonhigh

quality selling) from the first year of 350 Rais to 800 and 896 Rais in the second and third

years respectively. As for the areas for inorganic off-season longan (for both high-quality and

non-high quality) in the first year, they were 822 Rais (70%) and tended to decrease to 580 Rais

(41%) and 392 Rais (30%) in the second and third years respectively.

Keyword : -1) MCDM 2) longan cultivation 3) multi-objective and multi-period linear programming 5) tradeoffs 6) Large Agricultural Land Plot
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี สิงหะวาระ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.อารีย์ เชื้อเมืองพาน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัสพล วงษ์ดีไทย
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 นายพันชิด ปิณฑะดิษ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวสทยาลวยพะเยา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
246,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 246,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
23 มกราคม 2563
รูปแบบการนำเสนอ : การบรรยาย
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
ชื่องานประชุม/กิจกรรม : การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย
สถานที่ : มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
หน่วยงานที่จัด : มหาวิทยาลัยพะเยา
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
23 มกราคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย มหาวิทยาลัยพะ
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023