อิทธิพลการแผ่รังสีของพื้นผิวระนาบสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ต่อความรู้สึกเสมือนของมนุษย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-105
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : อิทธิพลการแผ่รังสีของพื้นผิวระนาบสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ต่อความรู้สึกเสมือนของมนุษย์
บทคัดย่อ :

การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอากาศในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน นอกจากปรากฏการณ์สภาวะโลก

ร้อนแล้ว ลักษณะทางกายภาพที่มนุษย์สร้างขึ้นในสภาพแวดล้อมยังมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง

ของอุณหภูมิอากาศเฉพาะพื้นที่ สาเหตุสำคัญเกิดจากอิทธิพลการแผ่รังสีความร้อนของผิววัสดุ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการถ่ายเทความร้อนของระนาบผิววัสดุสภาพแวดล้อมภายนอก

ได้แก่ ระนาบพื้น ระนาบด้านข้าง และระนาบด้านบน เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่อิทธิพลต่อ

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิว ที่ส่งผลถึงระดับอุณหภูมิอากาศและสภาวะน่าสบายของมนุษย์ การ

วิจัยพบว่าตัวแปรสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพล ได้แก่ อุณหภูมิอากาศทั่วไป(45.14%) ปริมาณรังสีดวง

อาทิตย์(35.46%) ปริมาณความชื้นสัมพัทธ์(34.61%) ความเร็วลม(10.59%) และตัวแปรคุณสมบัติ

วัสดุ ได้แก่ ความจุความร้อนของวัสดุ(1.56%) ตามลำดับ สามารถสร้างสมการทำนายอุณหภูมิผิว

วัสดุจากความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มีอิทธิพล ได้ดังนี้

Y = -16.619 + (1.545Xair)+(0.009Xsolar)+(0.065Xrh)+(-1.636Xwind)+(-9.037Xheat)

(แทนค่า Xair = อุณหภูมิอากาศ, Xsolar = ปริมาณรังสีดวงอาทิตย์, Xrh = ปริมาณความชื้น

สัมพันธ์, Xwind = ความเร็วลม, Xheat = ความจุความร้อนของวัสดุ) โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิการตัดสินใจ

(R Square = .897) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard error = 3.6076)

ผลจากสมการสามารถนำไปออกแบบ-ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและคาดเดาการ

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิผิววัสดุที่ส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศได้ก่อนการก่อสร้าง และใช้เป็นแนวทางใน

การออกแบบงานภูมิทัศน์ที่เหมาะสมในเขตภูมิอากาศร้อนชื้นที่มีผลต่อสภาวะน่าสบายของมนุษย์ได้แก่ (1)การสกัดกั้นแหล่งที่มาความร้อนจากอิทธิพลต้นไม้ใหญ่ (2)การลดอุณหภูมิอากาศจาก

อิทธิพลการเปลี่ยนสถานะของน้ำเป็นไอระเหย (3)การสร้างความรู้สึกเสมือนจากอิทธิพลอุณหภูมิ

เฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบ ส่งผลให้มนุษย์รู้สึกเย็นลงกว่าอุณหภูมิอากาศทั่วไป

คำสำคัญ : การแผ่รังสีความร้อน ระนาบพื้นผิว สภาพแวดล้อมภายนอก ความรู้สึกเสมือนของมนุษย์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Radiation Impact of Surface Plane to Human sensation on Outdoor Environments
Abstract :

The increase of air temperature in the environment, other than global warming, the manmade

environment causes micro-climate temperature changes mainly due to surface radiation.

This research aims to study surface heat transfer at different planes in the outside environment

including ground plane, side plane and overhead plane. The study found factors that affect

temperature and human comfort zone are the following: climate factor include air temperature

(45.14%), solar radiation (35.56%), relative humidity (34.61%), wind speed (10.59%) and site

elements factor include heat capacity (1.56%). The equation to predict surface temperature is:

Y = -16.619 + (1.545Xair)+(0.009Xsolar)+(0.065Xrh)+(-1.636Xwind)+(-9.037Xheat)

(Xair = air temperature, Xsolar = solar radiation, Xrh = relative humidity, Xwind = wind, Xheat

= heat capacity) R Square = .897 and Standard error = 3.6076

The results can be used to design-improve environment and predict changes in surface

temperature before construction. Design guideline for landscape in hot-humid climate for the

human comfort such as 1) heat radiation protection by tree and vegetation, 2) reduce air

temperature by evaporative cooling, and 3) human sensation by mean radiant temperature to feel

cooler than normal-air temperature.

Keyword : Heat radiation, Surface plane, Outdoor environment, Human sensation
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ระวี กองบุญเทียม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์ ปุระพรหม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023