การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์จากพืชเพื่อควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อโรคเต้านมอักเสบ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-100
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์จากพืชเพื่อควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อโรคเต้านมอักเสบ
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค

เพื่อศึกษาสารออกฤทธิ์จากธรรมชาติที่สามารถยับยั้งแบคทีเรียกอโรคเตานม

โคอักเสบ พืชที่ใชทดสอบมี 4 ชนิดไดแก สีเสียด เหงือกปลาหมอ มังคุด และทับทิม สารสกัดหยาบจากพืชทั้ง

4 ชนิดไดนำมาทำการทดสอบการยับยั้งแบคทีเรียเบื้องตนดวยวิธีการ Agar disc diffusion assay และ

microdilution broth นอกจากนั้นยังไดนำสารสกัดมาทดสอบการออกฤทธิ์รวมกัน (synergism) ดวยวิธี

Checkerboard analysis จากนั้นไดนำสารสกัดหยาบมาแยกดวยวิธี Thin layer chromatography (TLC)

และ bioautograph เพื่อวิเคราะห

หาสารสำคัญที่เป<นตัวออกฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรีย จากนั้นวิเคราะห

สารสำคัญ

ดวยเทคนิค Liquid chromatography จากผลการทดสอบพบวา สารสกัดจากมังคุดและทับทิมมีแนวโนมที่มี

ศักยภาพในการเป<นสารที่ใชยับยั้งแบคทีเรียกอโรคเตานมโคอักเสบ โดยเฉพาะสารสกัดที่ไดจากมังคุดนั้นมีฤทธิ์

ตานแบคทีเรียกอโรคเตานมโคอักเสบไดดีทั้งแบคทีเรียแกรมบวกและแบคทีเรียแกรมลบ โดยพบการตาน

แบคทีเรียแกรมบวกไดดีกวาแกรมลบ และสารสกัดมังคุดยังสามารถตานแบคทีเรียที่ดื้อยาปฏิชีวนะ

Methicillin resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ไดอีกดวย อยางไรก็ตามเมื่อทดสอบการออกฤทธิ์

รวมกันระหวางสารสกัดจากมังคุดและทับทิม พบวาไมมีการเสริมฤทธิ์กัน แตก็ไมมีการหักลางฤทธิ์กัน จึง

สามารถใชสารสกัดทั้งสองชนิดรวมกันได สารสำคัญที่ออกฤทธิ์ในการตานแบคทีเรียจากมังคุดไดแกแอลฟา

แมงโกสติน (?-mangostin)

คำสำคัญ : เตานมโคอักเสบ การยับยั้งแบคทีเรีย สารสกัดจากธรรมชาติ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Plant active ingredients analysis for controlling bovine mastitis bacteria
Abstract :

The aims of this research was to study active ingredients from natural products that

could inhibit bovine mastitis bacteria. There were 4 plants in this study; Acacia catechu (L.f.)

Willd., Acanthus ebracteatus Vahl., Garcinia mangostana Linn. and Punica granatum Linn.

Preliminary bacterial inhibitory testings were performed by agar disc diffusion assay and

microdilution broth assay. Synergism of the active plant extracts was also examined by

checkerboard analysis. The crude extracts were separated by TLC and then bioautographed

to indicate the active antibacterial compound. The active compound was the analyzed by

liquid chromatography. It was found that Garcinia mangostana Linn. extract had promising

compound with antibacterial effects against Gram positive and Gram negative bacteria

including drug-resistant bacteria (MRSA). However, with the synergism examination between

Garcinia mangostana Linn. and Punica granatum Linn. extracts, no synergistic and antagonistic

effect was shown. Therefore, these two extracts could together use for bovine mastitis

treatment. The active antibacterial compound from Garcinia mangostana Linn. was specified

as ?-mangostin.

Keyword : bovine mastitis, antibacterial, natural extracts
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นลิน วงศ์ขัตติยะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธุ์ชนะ สงวนเสริมศรี
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลฤดี สงวนเสริมศรี
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
288,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 288,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023