การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-095
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต
บทคัดย่อ :

วัสดุเหลือทิ้งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัสดุลิกโนเซลลูโลสที่สามารถนามาใช้ในการผลิตเอทานอล ซึ่งในการผลิตเอทานอล วัสดุลิกโนเซลลูโลสจาเป็นต้องมีการปรับสภาพด้วยกระบวนการทางกายภาพ ทางเคมี และเอนไซม์ งานวิจัยนี้จึงได้ทาการปรับสภาพต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่อัตราส่วนพืชต่อสารละลายเป็น 1:5 สารละลายผสมได้ให้ความร้อนด้วยที่อุณหภูมิ 121 ?C ความดัน 1.5 lb/in2 เวลา 15 min การปรับสภาพด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ความเข้มข้น 2, 3 และ 4% (v/v) นั้น ผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นสารละลาย 4% (v/v) ให้สัดส่วนเซลลูโลสสูงสุดหลังการการปรับสภาพ จากนั้นตัวอย่างพืชนามาปรับสภาพในสภาวะด่างด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้น 2, 3 , 4 และ 15% (w/v) พบว่าความเข้มข้นสารละลาย 15% (w/v) ให้สัดส่วนเซลลูโลสสูงสุด ที่ 76% หลังจากนั้นนาส่วนของแข็งมาย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลสที่อุณหภูมิ 42?C อัตราการกวนที่ 200 rpm พบว่า ระยะเวลาการย่อยสลายเซลลูโลสระหว่าง 27-36 hr ให้ความเข้มข้นน้าตาลสูงสุด โดยมีค่า (%) Saccharification สูงถึง 100% จากนั้นทาการหมักเอทานอลโดยใช้น้าตาลที่ได้จากการปรับสภาพและการใช้กลูโคสที่ค่าความเข้มข้นน้าตาลเริ่มต้นที่ต่างกัน การหมักเอทานอลด้วยยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ที่อุณหภูมิ 37 ?C เป็นเวลา 72 hr ให้ผลผลิตเอทานอลและร้อยละผลผลิตเอทานอลไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าร้อยละผลผลิตเอทานอลอยู่ในช่วงระหว่าง 95 – 97%

คำสำคัญ : วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร วัสดุลิกโนเซลลูโลส การปรับสภาพพืช เอทานอล
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of bioethanol production from cornfield - agricultural waste by separation hydrolysis and fermentation
Abstract :

Agricultuaral maize wastes are lignocellulosic materials that can be used for the ethanol production. In the ethanol production, the lignocellulosic materials were treated by using physical, chemical and enzymatic pretreatment. In this research, the agricultural maize waste were treated at ratio of dried plant and pretreatment solution at 1:5. The mixture solutions were heated at temperature 121?C, 1l.5 lb/in2 for 15 min. The acid pretreatment using the hydrochloric acid at concentration at 2, 3 and 4% (v/v) showed that the HCl concentration at 4% (v/v) release the highest content of cellulose after pretreatment. Then, the treated samples were treated again under the alkaline condition by using 2, 3, 4 and 15% (w/v) of sodium hydroxide solution. The results were suggested that at 15% (w/v) of NaOH showed the highest concetent of cellulose about 76%. After that the treated solids were digested by using cellulase under tempeture at 42?C and 200 rpm, the digestion times for cellulose degradations were about 27-36 hr that released the highest sugar concentration and the (%) saccharifications were nearly 100%. Then, the ethanol fermentations were done by using the sugar solutions from the steps of pretreatments under various initial sugar concentrations. The ethanol fermentation by Saccharamyces cerevisiae under temperature at 37 ?C for 72 hr showed that the both of ethanol yields and (%) thereotical ethanol yields were not significantly different and they were about 95 – 97% of thereotical ethanol yields.

Keyword : Agricultural residue; Lignocellulosic materials; Plant pretreatment; Ethanol
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.ณัฐต์ณิชา สุขเกษม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ไชยชนะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.นฤมล เข็มกลัดเงิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023