การตั้งตำรับสูตรผลิตภัณฑ์สปาไทยจากน้ำมันมะรุมสกัดเย็น กากกาแฟออร์แกนิคและสารสกัดจากลูกเดือย : การประยุกต์ใช้ระบบนำส่งในเครื่องสำอาง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-083
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การตั้งตำรับสูตรผลิตภัณฑ์สปาไทยจากน้ำมันมะรุมสกัดเย็น กากกาแฟออร์แกนิคและสารสกัดจากลูกเดือย : การประยุกต์ใช้ระบบนำส่งในเครื่องสำอาง
บทคัดย่อ :

สารสกัดจากลูกเดือยและกากกาแฟออร์แกนิคได้ถูกเตรียมด้วยสภาวะที่เหมาะสม โดย

สภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมสารสกัดจากลูกเดือยและกากกาแฟออร์แกนิคที่ทำให้สารสกัดทั้ง

สองชนิดมีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟี นอลิกทั้งหมดสูงสุดคือ การสกัดด้วยซอกเลตเป็น

เวลา 2 ชั่วโมงสำหรับลูกเดือย และสกัดด้วยการพาร์ทิชันด้วยเอทานอลร้อนเป็นเวลา 1 ชั่วโมง

สำหรับกากกาแฟออร์แกนิค นอกจากนี้ได้ตั้งตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสปา ศึกษาสมบัติทาง

กายภาพ ทดสอบความคงตัว และประเมินความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์โดยอาสาสมัคร โดยที่

แต่ละตำรับนั้นจะเตรียมขึ้นทั้งรูปแบบตำรับที่ผสมและไม่ผสมสารสกัดทั้งสองชนิด สำหรับนาโน

อิมัลชันที่หุ้มด้วยสารสกัดลูกเดือยและสารสกัดจากกากกาแฟออร์แกนิคได้ถูกเตรียมขึ้น ศึกษา

สมบัติทางกายภาพ จากนั้นนำนาโนอิมัลชันของสารสกัดทั้งสองชนิดมาตั้งตำรับผลิตภัณฑ์ครีม

บำรุงผิวหน้า และนำผลิตภัณฑ์ทดสอบความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์โดยเปรียบเทียบระหว่าง

ตำรับผลิตภัณฑ์ครีมบำรุงผิวหน้าที่ผสมสารสกัดทั้งสองชนิดแบบธรรมดาและที่ผสมนาโนอิมัลชัน

ของสารสกัดทั้งสองชนิด ผลการทดสอบพบว่าค่าพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์ในตำรับผลิตภัณฑ์

ครีมบำรุงผิวหน้าที่ผสมนาโนอิมัลชันของสารสกัดทั้งสองชนิดให้ค่าสูงกว่า

คำสำคัญ : กากกาแฟ ลูกเดือย นาโนอิมัลชัน ทดสอบความคงตัว ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Formulation of spa products from adlay (Coix lachryma-jobi L.) seed extracts and organic spent coffee grounds
Abstract :

Adlay seed and organic spent coffee grounds were extracted with the optimized condition.

The optimized condition which performed the highest antioxidant activities and total phenolic

contents of both extracts were soxhlet for 2 hours for adlay seed and partition with hot ethanol for

1 hours for spent coffee ground. In addtion, the spa cosmetic products were formulated, studied the

physical properties and stability test and evaluated the satisfaction by volunteers. Each of spa

product was performed with and without both extracts. Moreover, the nanoemulsion encapsulating

adlay seed extract and spent coffee ground extract were prepared and studied the physical

properties. Both nanoemulsion encapsulating extracts were used to formulate the new facial cream

and studied the physical properties. Moreover, the assessment for satisfaction of new facial cream

which contained nanoemulsion encapsulating extracts was studied and compared with the facial

cream which contained normal extracts. The results showed that the satisfaction of new facial cream

contained nanoemulsion encapsulating extracts was higher than the facial cream contained normal

extracts.

Keyword : Spent coffee ground, Adlay seed, Nanoemulsion, Stability test, Antioxidant activity, Total phenolic contents
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
288,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 288,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023