การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-075/61-080
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 28 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก
บทคัดย่อ :

ข้าวพันธุ์หอมกระดังงาเป็นพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่มีการปลูกในจังหวัดนราธิวาสมาอย่างยาวนาน จุดเด่นของข้าวพันธุ์นี้คือ จะมีกลิ่นหอมคล้ายดอกกระดังงาและยังมีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่เป็นข้าวที่ไวต่อช่วงแสงทาให้ข้าวออกดอกไม่พร้อมกัน แตกกอน้อย ลาต้นสูง จึงเกิดแนวคิดในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ให้ไวต่อช่วงแสง โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลมาช่วยคัดเลือกลักษณะความไม่ไวแสงของข้าว การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายโมเลกุลที่ยึดติดกับยีนไม่ไวแสง Hd1 ในรุ่นที่ 1 ของคู่ผสมระหว่างข้าวไวแสงพันธุ์หอมกระดังงา เป็นพันธุ์รับและข้าวไม่ไวแสงพันธุ์ กข55 เป็นพันธุ์ให้ ผลการทดลองพบเครื่องหมายโมเลกุลที่แสดงแถบดีเอ็นเอแตกต่างกันระหว่างพันธุ์รับหอมกระดังงา กับพันธุ์ให้ กข55 และเมื่อตรวจสอบจีโนไทป์ พบว่าเครื่องหมาย RM19776 เป็นตัวคัดเลือกความไม่ไวแสงของข้าวเป็นเครื่องหมายโมเลกุลชนิด SSR Marker ที่เป็นยีนแฝงยึดติดกับยีนไม่ไวแสง Hd1 ที่แสดงแถบ ดีเอ็นเอแตกต่างกันระหว่างพันธุ์รับหอมกระดังงา กับพันธุ์ให้ กข55 ดังนั้น การใช้เครื่องหมายโมเลกุลที่มีความสัมพันธ์กับยีนไม่ไวแสง Hd1 สามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ให้ไวแสงต่อไปได้

คำสำคัญ : ปรับปรุงพันธุ์ , ข้าวหอมกระดังงา , ไม่ไวแสง , เครื่องหมายโมเลกุล
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Breeding of Hawm Gra Dang Ngah rice for photoperiod insensitivity by using molecular marker-assisted Backcrossing
Abstract :

Hawm Gra Dang Ngah rice is a native rice variety planted in Narathiwat Province for a long time. The highlight of this rice is Ylang ylang fragrance and it also has a high nutritional value. The rice is sensitive to light. Rice is not blooming simultaneously crack high stems. The concept of breeding Hawm Gra Dang Ngah rice is not sensitive to light by molecular markers to select the non-sensitivity light phenotype. This experiment was designed to investigate the relationship between molecular markers linked to Hd1 non-sensitivity light gene in F1 generation of the hybrid strain between Hawm Gra Dang Ngah and. RD55 variety. The results showed that the molecular markers exhibited different DNA strands between Hawm Gra Dang Ngah and RD 55. RM19776 was selected as a photoperiod insensitivity of rice as a marker of SSR Marker, a latent gene affixed to the non-Hd1 gene, showing different DNA bands between cultivars of Hawm Gra Dang Ngah and RD55. Therefore, the use of molecular markers related to photoperiod insensitivity Hd1 genes can be used to develop Hawm Gra Dang Ngah rice strains that are not sensitive to light.

Keyword : Breeding, Hawm Gra Dang Ngah rice, photoperiod insensitivity, molecular marker-assisted target
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.มัลลิกา จินดาซิงห์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.สุทธิรักษ์ ผลเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 พฤษภาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : Maejo International Journal of Science and Technology 
ฉบับที่ : 16(02)
หน้า : 89-97
ระดับการนำเสนอ : ระดับนานาชาติ
เจ้าของวารสาร : Maejo University
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023