การวิเคราะห์องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดจากเมล็ดเจียที่ปลูกในประเทศไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-078
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การวิเคราะห์องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดจากเมล็ดเจียที่ปลูกในประเทศไทย
บทคัดย่อ :

เจีย (Salvia hispanica L.) เป็นเมล็ดพันธุ์พืชพื้นเมืองที่มีถิ่นกาเนิดจากทางตอนเหนือของประเทศเม็กซิโกไปจนถึงประเทศกัวเตมาลา ปัจจุบันเจียสามารถเจริญเติบโตได้ในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ดังนั้นการศึกษาถึงการนาเมล็ดเจียมาใช้เพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหารและอื่นๆจึงมีความสาคัญ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจีย การวิเคราะห์คุณภาพและองค์ประกอบของกรดไขมันในน้ามันเมล็ดเจีย ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจียแสดงให้เห็นถึงการเป็นแหล่งที่สาคัญของเส้นใยอาหาร โดยเมล็ดเจียประกอบด้วยน้ามันในปริมาณที่สูงถึง 27.27-32.84% และอุดมไปด้วยโอเมก้า 3 ในปริมาณ 56.43-62.04% และโอเมก้า 6 ในปริมาณ 17.46-20.55% จากผลการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจียชี้ให้เห็นว่าเมล็ดเจียสามารถใช้เป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมล็ดเจียจากประเทศไทยจัดเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร โดยสามารถนามาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพได้

คำสำคัญ : เมล็ดเจีย องค์ประกอบทางเคมี การสกัดน้ามัน องค์ประกอบของกรดไขมัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The analyzation on chemical composition and chemical properties of substances extracted from chia (Salvia hispanica L.) seed grown in Thailand
Abstract :

Chia (Salvia hispanica L.) is a native seed of the North of Mexico to Guatemala region. Nowadays it has been grow in Thailand in the northern area therefore it is target of study for food enrichment and others. This research focused on study of chemical composition of chia seed, the chia seed oil quality inspection and fatty acid profiles. The result of chemical composition of Chia seeds showed that it is important sources of dietary fiber. Chia seeds contains high levels of oil in the range of 27.27-32.84% and there are constituted in 56.43-62.04% of Omega-3 and 17.46-20.55%, of Omega-6. The results of chia seed component suggested that chia seeds should be considered as functional ingredients adding nutritional value. Especially Thai chia seed has exhibited in a rich source of food nutrition. It contributes to value addition in health food product.

Keyword : Chia seed, Chemical composition, Oil extraction, Fatty acid profiles
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนรรฆอร ศรีไสยเพชร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
70 ไม่ระบุ
2 นางพิมพร มะโนชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 นายมาโนชย์ ถนอมวัฒน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
288,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 288,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023