ซิ่นผ้าฝ้ายลายก่าย ภูมิปัญญาล้านนาไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-076
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ซิ่นผ้าฝ้ายลายก่าย ภูมิปัญญาล้านนาไทย
บทคัดย่อ :

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง ซิ่นผ้าฝ้ายลายก่าน ภูมิปัญญาล้านนาไทย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประกอบด้วย บริบทผู้ทอผ้าซิ่นลายก่าน ภูมิปัญญาความแตกต่างของผ้าซิ่นลายก่านที่เป็นเอกลักษณ์ และแนวทางการพัฒนากลุ่มทอซิ่นผ้าฝ้ายลายก่าน ของจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน โดยมีจานวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจานวน 11 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและการสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์รายบุคคลและสัมภาษณ์แบบกลุ่ม หลังจากนั้นทาการวิเคราะห์เนื้อหาโดยการจัดกลุ่มข้อมูลตามวัตถุประสงค์

จากการศึกษาวิจัยในวัตถุประสงค์ที่ 1 บริบทผู้ทอผ้าซิ่นลายก่าน พบว่า ผู้ทอในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จานวน 9 อาเภอ จังหวัดลาพูน 2 อาเภอ ทั้งหมดเป็นเพศหญิงส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา สถานภาพสมรสแล้ว มีกี่ทอผ้าและผู้ช่วยในการทอผ้าทุกคน มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ทอซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านโดยจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนจานวน 9 กลุ่ม และไม่ได้จดทะเบียนกลุ่ม จานวน 2 กลุ่ม

จากการศึกษาวิจัยในวัตถุประสงค์ที่ 2 ภูมิปัญญาความแตกต่างของผ้าซิ่นลายก่านที่เป็นเอกลักษณ์ พบว่า ความแตกต่างของซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านของแต่ละชุมชน และในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และลาพูนนั้น ประกอบไปด้วยชนชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่มีความแตกต่างกันทาให้รูปแบบซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านของแต่ละชนชาติพันธุ์นั้นแตกต่างกันไปด้วยโดยเฉพาะลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ประจาของแต่ละชนชาติพันธุ์ล้านนาซึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ประกอบไปด้วย ไทยวน ไทลื้อ ไทเขิน และไทใหญ่ ส่วนในจังหวัดลาพูนนั้นจะเพิ่มกลุ่มชนชาติพันธุ์ที่เรียกว่าไทยอง ซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านจะประกอบไปด้วย หัวซิ่น ตัวซิ่น และตีนซิ่น โดยในส่วนของลายก่านส่วนใหญ่จะอยู่ที่บริเวณตัวซิ่นส่วนหัวซิ่นใช้ผ้าสีพื้นไม่มีลวดลายในการต่อเติม และส่วนของตีนซิ่นมีการใช้ทั้งผ้าสีพื้นหรือผ้าตีนจกที่มีลวดลายสวยงามในการต่อเติม แต่ก็พบว่าบางพื้นที่มีการทอลายก่านเต็มทั้งผืนโดยไม่มีการต่อส่วนหัวและตีนซิ่น ชื่อเรียกของซิ่นลายก่านจะมีชื่อเรียกอีกแบบคือซิ่นต๋า ซึ่งจะมีการเรียกชื่อของซิ่นลายก่านแต่ละประเภทได้แก่ ซิ่นต๋ามุด ซิ่นต๋าเขิน ซิ่นต๋าลื้อ ซิ่นต๋าสามแลว ซิ่นต๋าสองแลว ซึ่งเป็นต้นแบบให้แต่ละชนชาติพันธุ์ทาการทอและประยุกต์ลวดลายของท้องถิ่นตนเองจึงทาให้เกิดความหลากหลายของลายก่านที่มีลักษณะคุณสมบัติเฉพาะจากเทคนิคการทอ และการย้อมที่เป็นเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่นของตนเองในปัจจุบัน

จากการศึกษาวิจัยในวัตถุประสงค์ที่ 3 พบว่าการพัฒนากลุ่มทอซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านมีรูปแบบในการพัฒนา 3 รูปแบบได้แก่ 1) การพัฒนากลุ่มทอผ้าเพื่อสืบสานภูมิปัญญาซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านโดยชุมชน พบว่า มีการพัฒนากลุ่มทอซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านโดยผู้นาที่ทอซิ่นในชุมชน,เยาวชนคนรุ่นใหม่ และการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน 2) การพัฒนากลุ่มทอผ้าเพื่อสืบสานภูมิปัญญาซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านโดยหน่วยงานของรัฐ ได้แก่องค์การบริหารส่วนตาบล อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด 3) การพัฒนากลุ่มทอซิ่นผ้าฝ้ายลายก่านอย่างมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆในชุมชนได้แก่สมาชิกในหมู่บ้าน การส่งเสริมด้านวัฒนธรรมจากวัดของชุมชน และการจัดหลักสูตรเรียนรู้ในโรงเรียนประจาชุมชน

คำสำคัญ : ซิ่นผ้าฝ้ายลายก่าน ซิ่นต๋า ภูมิปัญญา ล้านนาไทย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Cotton Fabric Skirt, Lai Kan - The Wisdom of Thai Lanna
Abstract :

In the study of Cotton fabric skirt, Lai Kan – The wisdom of Thai Lanna were qualitative research. The objectives of the study were 1) Context of Cotton fabric skirt, Lai Kan weaver 2) The wisdom of the differences unique of Cotton fabric skirt, Lai Kan 3) The weaving group development guidelines in Chiang Mai and Lamphun provinces. There were 11 samples in the studied by purposive sampling and snowball sampling. Data were collected by means of participant observation and non-participant observation, Interview and focus group discussion. After that, content analysis by grouping data according to objectives.

From the study of objective 1, Context of Cotton fabric skirt it was found that the weavers in Chiang Mai province 9 districts and Lamphun province 2 districts. All were female, most of them graduated from primary school, marital status,They had own loom and weaving assistants. There were 9 groups of Cotton fabric skirt, Lai Kan weaving groups registered as community enterprises and not registered in 2 groups.

From the study of objective 2, The wisdom of the differences unique of Cotton fabric skirt, Lai Kan it was found that each community in the area of Chiang Mai and Lum Phun There are different races living That made the pattern were different especially the unique of tracery identity of each races of Lanna Which in Chiang Mai province including ; Tai Yuan, Tai Lue, Tai Kheun and Tai Yai and Lam Phun province had the Tai Yong race. Cotton fabric skirt Lai Kan including ; top part of skirt, middle part of skirt and lower part of skirt: but the part of Lai Kan most were on middle part of skirt, one color cotton fabric no have tracery on top part of skirt and the lower part of skirt used all both of one color cotton fabric or Teen Jok textiles to connect but still found that had weaving cotton fabric skirt Lai Kan since the top part of skirt to lower part of skirt non divided. The name of Lai Kan skirt had another name to call were “Sin Tah” Which that has to call the Lai Kan skirt each category including ; Sin Tah Mud, Sin Tah.Which is the prototype for each races, Weave and apply local patterns It makes a variety of Lai Kan skirt That had characteristics of the weaving techniques and dying the local identity of their own in present.

From the study of objective 3, The weaving group development guidelines in Chiang Mai and Lamphun provinces it was found that 1) The development of the weaving group to carry on the wisdom of the Cotton fabric skirt, Lai Kan by the community. found that the development ofthe weaving group by skirt weaver leaders in the community, the young generation and the establishment of a learning center in the community 2) The development of the weaving group to carry on the wisdom of the Cotton fabric skirt, Lai Kan by the government agencies. found that Including the Subdistrict Administration, Organization Tourism industry And the Provincial Industry Office. 3) The development of the Cotton fabric skirt, Lai Kan weaving group with the participation of various sectors in the community such as Village members, Cultural promotion from community temples and learning curriculum in the community boarding school

Keyword : Cotton fabric skirt Lai Kan, Sin Tah, Wisdom, Thai Lanna
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์ นาระทะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
70 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.รัชชานนท์ สมบูรณ์ชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์ นาขยัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
123,300.00
   รวมจำนวนเงิน : 123,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023