การผลิตแผ่นเมี่ยงเวียดนามจากแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และแป้งข้าวลืมผัว

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-110
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตแผ่นเมี่ยงเวียดนามจากแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และแป้งข้าวลืมผัว
บทคัดย่อ :

ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัดส่วนที่เหมาะสมในการใช้แป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และข้าว

เหนียวลืมผัวในการผลิตแผ่นเมี่ยงเวียดนาม โดยจากการวางแผนการทดลองแบบผสมทา ให้มีสัดส่วน

ของแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และข้าวลืมผัวในการศึกษาครั้งนี้ทั้งหมด 9 สูตร นอกจากนี้ได้ทา การศึกษา

สมบัติทางเคมีได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เถ้า เส้นใย ความชื้น แอนโธไซยานินและอะไมโลส สมบัติ

ทางกายภาพได้แก่ ค่าความอุ้มน้า แรงดึงและสี และการประเมินทางด้านประสาทสัมผัสของแผ่นเมี่ยง

เวียดนามที่ผลิตจากข้าวไรซ์เบอร์รี่และข้าวลืมผัวที่สัดส่วนของแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และข้าวเหนียวลืมผัว

ต่างๆ โดยการศึกษาพบว่า เมื่อเพิ่มสัดส่วนของแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ในการผลิตแผ่นเมี่ยงเวียดนามจะ

ส่งผลให้มีปริมาณคาร์โบไฮเดรต ปริมาณอะไมโลส ค่าการอุ้มน้า และค่าแรงดึงเพิ่มมากขึ้นแต่ปริมาณ

โปรตีนลดลง ส่วนปริมาณเถ้า เส้นใย ความชื้น แอนโธไซยานินและค่าสีไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี

นัยสาคัญในทุกสูตรการทา แผ่นเมี่ยงเวียดนาม นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจากคะแนนผลการประเมินทาง

ประสาทสัมผัสพบว่า แผ่นเมี่ยงเวียดนามที่มีคะแนนความชอบมากที่สุดมีสัดส่วนของข้าวไรซ์เบอร์รี่:

ข้าวเหนียวลืมผัว:แป้งมัน เท่ากับ 83:16:1

คำสำคัญ : ข้าวไรซ์เบอร์รี่; ข้าวเหนียวลืมผัว; แผ่นแป้ง; สมบัติกายกาพ; สมบัติทางเคมี; การประเมิน ประสาทสัมผัส
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Production of rice paper from riceberry flour and Luempua rice flour
Abstract :

This research was aimed to investigate suitable ratio of Riceberry rice flour and Leum-Pua rice

flour for producing rice paper. The 9 ratio of Riceberry rice flour and Leum-Pua rice were obtained

using Mixture design. Chemical properties, i.e., carbohydrate, protein, fat, ash fiber, moisture content,

anthocyanin and amylose, physical properties, i.e., water holding value, tensile strength and color and

sensory evaluation of the rice paper produced from different ratio of Riceberry rice flour and Leum-

Pua rice flour were also determined. The results showed that when higher content of Riceberry rice

flour was obtained, content of carbohydrate and amylose, water holding and tensile strength values in

the paper rice increased but content of protein decreased. For content of fat, ash, fiber, moisture and

anthocyanin and color value, there was no significant difference in all ratio of Riceberry rice flour and

Leum-Pua rice flour. Moreover, based on the highest sensory evaluation score, the suitable ratio of

Riceberry rice flour: Leum-Pua rice flour: cassava flour was 83:16:1 for producing rice paper.

Keyword : Chemical properties; Riceberry rice; Leum-Pua rice; rice paper; Physical properties; Sensory evaluation
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หยาดฝน ทนงการกิจ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
80 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 นริศรา วิชิต
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023