การศึกษาการเจริญเติบโต และต้นทุนที่ใช้ของโคเนื้อระยะรุ่นในการใช้แปลงหญ้าผสมถั่วเป็นพืชอาหารสัตว์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-047
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาการเจริญเติบโต และต้นทุนที่ใช้ของโคเนื้อระยะรุ่นในการใช้แปลงหญ้าผสมถั่วเป็นพืชอาหารสัตว์
บทคัดย่อ :

กำรศึกษำกำรเจริญเติบโต กำรออกดอก ติดผล ปริมำณและคุณภำพผลผลิตของต้น

ลำ ไยลูกผสม จำ นวน 18 คู่ผสมเปรียบเทียบกับพันธุ์อีดอในปี 2560 - 2561 พบว่ำ กำรเจริญเติบโต

ทั้งควำมกว้ำงทรงพุ่ม ควำมสูงต้นและเส้นผ่ำนศูนย์กลำงลำ ต้น ไม่แตกต่ำงกันทั้ง 2 ปี ที่ศึกษำ ส่วน

ต้นลำไยคู่ผสมมีกำรออกดอก14 คู่ผสม ได้แก่ (อีดอ 27-1 ? สีชมพู 12) F1-4 (อีดอ 27-1 ? สีชมพู

12) F1-3 (อีดอ 27-1 ? สีชมพู 12) F1-1 (สีชมพู-7 ? ดอก้ำนแข็ง-8) F1-4 (ดอก้ำนแข็ง-7 ? สีชมพู-

12) F1-5 (กรอบกะทิ-1 ? อีดอ) F1-1 (กรอบกะทิ-1 ? อีดอ) F1-2 (เบี้ยวเขียวชม.-6 ? ดอก้ำนแข็ง-6)

F1-3 (ดอก้ำนแข็ง-6 ? สีชมพู-8) F1-1 (พวงทอง-9 ? ดอก้ำนแข็ง-7) F1-5 (พวงทอง-7 ? ดอก้ำนแข็ง-

7) F1-8 (พวงทอง-7 ? ดอก้ำนแข็ง-7) F1-10 (พวงทอง-7 ? ดอก้ำนแข็ง-7) F1-2 (พวงทอง-5 ? ดอ

ก้ำนแข็ง-7) F1-2 ต้นลำ ไยลูกผสมใช้ระยะเวลำตั้งแต่เพำะเมล็ดจนถึงออกดอก 3 ปี 9 เดือน ซึ่งเป็น

คู่ผสมที่อำยุน้อยที่สุดที่ออกดอก ส่วนลูกผสมอื่นที่ออกดอกอำยุต้นลำ ไย 4 ปี ขึ้นไป กำรศึกษำ

ลักษณะประจำ พันธุ์พบว่ำ สีของดอกแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ เขียวปนเหลืองและครีมปนเหลือง ผล

แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ มีผลกลมและค่อนข้ำงกลม สีผิวผล สีน้ำ ตำลปนเหลืองและน้ำ ตำลปนเขียว ผิว

เปลือกมีทั้งเรียบและขรุขระ สีของเนื้อมีสีใสและขำวขุ่น เนื้อสัมผัสเหนียวและกรอบ คู่ผสมที่

ผู้บริโภคพึงพอใจมำกที่สุดเนื่องจำกเนื้อกรอบและรสหวำนอร่อย คือ (พวงทอง-7 x ดอก้ำนแข็ง-7)

F1-10 ผลค่อนข้ำงกลม ผิวเปลือกขรุขระ สีน้ำ ตำลปนเขียว ผลกว้ำง 24.84 มิลลิเมตร ยำว 26.26

มิลลิเมตร สูง 24.76 มิลลิเมตร น้ำ หนักผล 9.82 กรัม เนื้อสีขำวขุ่นกรอบ หวำน อร่อย ปริมำณของแข็งที่ละลำยน้ำ ได้ 19.90 องศำบริกซ์ ควำมหนำเปลือก 0.90 มิลลิเมตร ควำมหนำเนื้อ 3.90

มิลลิเมตร ขนำดเมล็ด 14.23 มิลลิเมตร ซึ่งน่ำจะพัฒนำไปเป็ นพันธุ์รับประทำนสดที่มีศักยภำพ

ต่อไปได้

คำสำคัญ : กำรผสมพันธุ์ ลูกผสม คุณภำพผลผลิต
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Study on Growth, Flowering, Fruit Setting, Quantity and Quality of Longan Hybrids
Abstract :

The results for the study of growth, flowering, fruiting, yield and quality of 18 lines

of F1- hybrid longan in comparison with E-Daw showed that the growth in terms of canopy width,

plant height and stem diameter did not show any significantly difference among longan lines. Only

14 lines of F1-hybrid flowered in the first time. They were F1-4 (E-Daw 27-1 x Si Chompoo 12),

F1-3 (E-Daw 27-1 x Si Chompoo12), F1-1 (E-Daw 27-1 x Si Chompoo 12), F1-4 (Sri Chompoo7x

Daw KanKheng 8), F1-5 (Daw KanKheng 7 x Si Chompoo 12), F1-1 (Krob Kahti x E-Daw), F1-2

(Krob Kahti x E-Daw), F1-3 (Biaw-khiaw x Daw KanKheng -6), F1-1 (Daw KanKheng-6 x

Si Chompoo-8), F1-5 (Pungthong-9 x Daw KanKheng -7), F1-8 (Pungthong-7 x Daw KanKheng -

7), F1-10 (Pungthong-7 x Daw KanKheng -7), F1-2 (Pungthong-7 x Daw KanKheng-7) F1-2

(Pungthong-5xDaw KanKheng-7). The shortest reproductive stage from seed germination to

flowering was 3 years and 9 months, whereas the other hybrids took more than 4 years. The flower

color of F1 hybrids could be classified into 2 groups: greenish with yellow and creamy with yellow.

The fruit characteristics classified as 2 groups such as round and quite round fruit shape, browngreen

and brown-yellow rind color, smooth and rough rind, and translucent and opaque aril and

tough and quite crunchy of the aril. For the panel test of the acceptability, the results showed that

the most acceptability was the hybrid of (Pungthong 7 x Daw KanKheng 7) F1-10 which had quite

round fruit with rough rind and brown-green color. The fruit size included the width of 24.84 mm.,

length of 26.26 mm. and the height of 24.76 mm. Fruit weight was 9.82 g. The aril was opaque

color with quite crunchy texture. TSS was 19.90 ?Brix. The rind thickness was 0.90 mm., aril

thickness was 3.90 mm. and seed size was 14.23 mm. which most of all should be registered and

developed for new satisfied longan variety in the future.

Keyword : Pollination, Hybrids, Fruit characteristic
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว คนยัง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์ วรรณคำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อุดร วงศ์นาค
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
6 นายสมศักดิ์ กันถาด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ / งานบริหารและธุรการ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023