รูปแบบการเข้าถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน ๔

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-135
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 16 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : รูปแบบการเข้าถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน ๔
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสร้างรูปแบบการเข้าถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน ๔ ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เขียนผลงานวรรณกรรมและผลงานวิทยานิพนธ์ พระวิปัสสนาจารย์ทั่วไป เจ้าสานักศูนย์ปฏิบัติธรรมทั่วไป วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสอบถาม จานวน ๔๐ รูป/คน จากการสัมภาษณ์ จานวน ๒๗ รูป/คน จากการศึกษาเฉพาะกรณีศึกษา ประกอบด้วย ๑) แบบสมาธิบาบัดรักษาโรคได้ด้วยตนเอง (SKT) ศึกษา ๒) แบบ NLP (Neuro Linguistic Programming) ๓) แบบแนวทางปฏิบัติท่านโกเอ็นก้า ๔)การศึกษาจากปฏิบัติธรรมด้วยตัวเอง ผลการศึกษา พบว่า

๑) ลักษณะรูปแบบเป็นปัญญาเกิดจากการปฏิบัติ ฝึกฝน สะสม ประสบการณ์ ทั้งสมถและวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อนาไปสู่การพ้นทุกข์ นาสติที่ตั้งมั่นในปัญญาเข้าใจธรรมชาติเป็นจริง ทุกขณะจิตเกิดดับ เห็นไตรลักษณ์ตลอดเวลา สอดคล้องกับ “ปัญญาระดับภาวนามยปัญญา” การได้ประจักษ์ด้วยตนเอง เห็นตามลักษณะความไม่เที่ยง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พบความจริงสูงสุด เป็นความจริงเหนือประสาทสัมผัส เหนือขอบเขตจักรวาล เรียกว่า “ปัญญาจริงแท้”

๒) ลักษณะรูปแบบเป็นการฝึกฝนปฏิบัติ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้แนวคิด ทฤษฎี ไปด้วยกัน โดยสาธยายธรรมที่มีความรู้ความเข้าใจ สู่บุคคลอื่นได้บางส่วนความเป็นจริงไม่เป็นปัญญาแท้จริง แหล่งที่มาของรูปแบบปัญญาจากตกผลึกความคิดที่ได้ค้นคิดด้วยตนเอง ทั้งการบูรณาการศาสตร์สมัยใหม่ นาไปประยุกต์ใช้ หรือแนวคาสอนครูบาอาจารย์ หรือแนวทางการปฏิบัติและเชื่อมโยงแนวคิดหลักการและวิธีการคาสอนครูบาอาจารย์ สอดคล้องกับ “ระดับปัญญาสุตมยปัญญา” ที่เกิดจากศึกษาเล่าเรียน ผสานกับ “ระดับปัญญาจิตตามยปัญญา” ที่เกิดจากการคิดค้นการตรึกตรอง เรียกว่า “ปัญญาเกือบเป็นจริง”

๓) ลักษณะรูปแบบเป็นเพียงความคิดเห็น การพิจารณาจากการฟัง การอ่าน การเล่าเรียน เป็นไปตามแนวทางที่คิดว่าควรจะเป็น แหล่งที่มาจากพระไตรปิฎก คัมภีร์ ตารา เป็นลายลักษณ์อักษร อ้างอิงคาบาลีเพื่ออธิบายความเนื้อหาสาระ ความรู้ความเข้าใจระดับเชาวน์ปัญญาเกี่ยวกับคาสอนเท่านั้น แต่ยังไม่ลงปฏิบัติ สอดคล้องกับ “ระดับปัญญาสุตมยปัญญา” ที่เกิดจากศึกษาเล่าเรียน เท่านั้น การอนุมาน ตรรกะ เป็นความจริงที่เกิดจากการคาดคะเนเอาเอง ไม่ใช่ความจริงแท้ จึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เรียกว่า “ปัญญาที่คาดว่าจะเป็นจริง”

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Approach Wisdom Knowledge Model of Mah?satipatth?na IV
Abstract :

This objectives research was to analyze and create the model for the access to the wisdom on the Mah?satipatth?na IV. The sample groups were the author of literature and thesis works, general Vipassana Meditation Master, head of the institute of general Vipassan? Meditation center. The data were collected from questionnaires 40 person and used interview 27 persons from specific case studies, consisting of 1) Self-Healing Meditation (SKT) Study 2) NLP (Neuro Linguistic Programming) 3) Goenka Than Guidelines 4) Self-study of Dharma. The research showed as following;

1) The form of wisdom was the result of practice, accumulation of experience in both Samatha and Vipassan? meditation for leading to free from suffering, to brig mindfulness in wisdom, to understand the real nature of every moment of the mind, to see the Trinity all the time with matching the “wisdom of prayer level of wisdom”, to manifest yourself seen by impermanence, Aniccam, Dukkham, Anatt? and to see the ultimate truth. It was above the senses beyond the boundary of the universe was called “true wisdom.”.

2) The form was the practice along with learning, the concepts and theories together by elucidation with knowledge and understanding to the other some person. The fact was not real wisdom. Original sources of wisdom forms crystallized thoughts that have been discovered by oneself. Including integrated modern science, applying or teaching of teachers or practices and linking the concepts, principles and methods of teachings in accordance with the “wisdom level Sut?samayapa??a” by studying together with the “level of mind, mind, wisdom” arising from the invention of thought called “Almost true wisdom”.

3) The form was a comment. Consideration from listening, reading, studying that was possible in line with the thought that should be. Sources from the Tripitaka, written, texts, reference Pali to explain the content knowledge and understanding at the level of intelligence about teachings only but it had not yet been implemented in accordance with the “Sutt?yamayapa??a intelligence level” which was the result of study only. The logical inference was a fact that was predicted by one's self. It was not true therefore change over time. called “Wisdom that is expected to be true”

Keyword : Pa??a, Mah?satipatth?na IV
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 น.ส.สรัญญา โชติรัตน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
70 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ฉัตรสูงเนิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะศิลปศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
271,400.00
   รวมจำนวนเงิน : 271,400.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
26 มิถุนายน 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยรา
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
13 กุมภาพันธ์ 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 “วิชาการล้านน
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023