ประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-090/61-123
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน
บทคัดย่อ :

การศึกษาประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ามัน ได้ดาเนินการวิจัยที่สวนปาล์มน้ามัน อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร โดยการทดลองมีทั้งหมด 5 แปลงทดลอง ได้แก่ แปลงควบคุม, แปลงที่ผสมเกสรตามธรรมชาติ, และแปลงที่มีการวางรังชันโรง 4, 6, และ 8 รัง ผลการศึกษาพบว่า แปลงที่มีการวางรังชันโรงมีแมลงผสมเกสรมากกว่าแปลงที่ไม่มีการวางรังชันโรงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การลงตอมดอกของชันโรงบนดอกเพศผู้มากกว่าเพศเมีย 3.5 เท่า

การศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของชันโรงและอัตราการลงตอมดอกของชันโรงในแปลงที่มีการวางรังชันโรง พบว่าแปลงที่มีการวางรังชันโรง 8 รัง มีความอุดมสมบูรณ์ของชันโรงและอัตราการลงตอมดอกสูงสุด รองลงมาได้แก่แปลงที่มีการวางรังชันโรง 6 และ 4 รัง ตามลาดับ

การศึกษาความสัมพันธ์ของความอุดมสมบูรณ์ของชันโรงและอัตราการลงตอมดอกของชันโรงบนดอกเพศผู้และเพศเมียของปาล์มน้ามันในช่วงเวลาต่างๆในรอบวัน พบว่า ช่วงเวลาที่ความอุดมสมบูรณ์ของชันโรงในแปลงมากที่สุด คือ 12.00 น. รองลงมาคือ 14.00, 10.00, 8.00 และ 16.00 น. ตามลาดับ ส่วนอัตราการลงตอมดอกพบว่าชันโรงจะมีอัตราการลงตอมดอกเพศผู้และเพศเมียของปาล์มน้ามันได้ดีในช่วงเวลา 10.00-15.00 น. จากนั้นจะลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่เวลา 16.00-17.00 น.

สาหรับข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพของผลผลิตปาล์มน้ามัน เปอร์เซ็นต์น้ามันในทะลายปาล์มน้ามันของทุกแปลงทดลอง กาลังอยู่ในระหว่างการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะรายงานผลเมื่อการวิจัยเสร็จสิ้นในปีที่สองของโครงการ

คำสำคัญ : ชันโรง , แมลงผสมเกสร , การผสมเกสรปาล์มน้ามัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Efficacy of Stingless bee for Increase Productivity of Oil Palm
Abstract :

Study on the efficacy of stingless bee for increase productivity of oil palm was research at the oil palm plantation in Lang Suan District, Chumporn Province. There were 5 experimental plots: control plots, natural pollinated plots, and plot with 4, 6 , and 8 stingless bee hive. The results showed that the plots with stingless bee hives have more pollinator than the plots without stingless bee hive. The stingless bees have visited male flowers more than female flowers 3.5 times.

The study of abundance of stingless bees and the visiting rate of stingless bees on male and female of oil palm flowers in plot with stingless bee was found that the plot with 8 stingless bee hives had a high abundance of stingless bee population and maximum visiting rate. Secondly, the plots were placed in 6 and 4 hives positions respectively.

The study of relationship between abundance of stingless bees and the visiting rate of stingless bees on male and female of oil palm flowers during various periods of the day was found to be the most abundant. 12.00 am, 10.00 am, 8.00 am and 4.00 pm respectively. The visiting rate of male and female of oil palm flow was found during 10.00-15.00, after that it was decreased statistically significant at 4.00-5.00 pm.

The data on quantity and quality of oil palm production, percentage of palm oil in all experimental plots is being collected and analyzed. This will be report when the research is complete in the second year of the project.

Keyword : Stingless Bee, Pollinator, Oil Palm Pollination
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์ พู่พัฒนศิลป์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหารวิทยาลัยแม่โจ้
288,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 288,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023