การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าต้นน้ำห้วยภูแกง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-030
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าต้นน้ำห้วยภูแกง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน

2) การพัฒนาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าชุมชน และ 3) การ

ประเมินผลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่ าชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลบุญเรือง

วิธีการศึกษาและกลุ่มเป้าหมายในครั้งนี้ คือ การจับกลุ่มสนทนาและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth

interview) เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้าน จำนวน 18 ราย จากการศึกษา พบว่า

ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม การปลูกพืช และการทำปศุสัตว์ ประชาชนได้รับข้อมูล

ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการน้ำผ่านทางโทรทัศน์มากที่สุด ส่วนผลของการพัฒนาและส่งเสริมการมี

ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าชุมชนได้มีการประชุมและการวางแผน ได้ใช้กระบวนการ

เทคนิค AIC (Appreciation Influence Control) พบว่า ขั้นแรกเป็นขั้นตอนการสร้างความรู้ (A) จาก

การจัดเวทีแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็น พร้อมด้วยสรุปสภาพการณ์และปัญหาป่าชุมชน การ

วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันผู้ใช้น้ำห้วยแกง (A1) ปัญหาที่พบ การขาดแคลนน้ำ เพื่อใช้สำหรับการ

เพาะปลูก เนื่องมาจากแหล่งน้ำตื้นเขิน ทำให้เกิดการแย่งชิงน้ำ ฝายชะลอน้ำของชุมชน อยู่ในสภาพ

เก่า ใกล้ผุพัง และมีความทรุดโทรม รวมไปถึงน้ำท่วมพื้นที่ทำการเกษตร ทำให้ได้เกิดการกำหนดทิศทางของ 4 หมู่บ้านผู้ใช้น้ำห้วยแกงร่วมกัน เพื่อให้ทราบว่าต้องการให้เกิดการพัฒนาไปใน

ทิศทางใด (A2) ขั้นที่ 2 ขั้นตอนการสร้างแนวทางการพัฒนา (I) คนในชุมชนร่วมกันหาวิธีการ

พัฒนา ขั้นที่ 3 ขั้นตอนการสร้างแนวทางปฏิบัติ (C) คนในชุมชนดำเนินกำหนดกิจกรรมร่วมกัน

และผลสำรวจด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่พบว่า การสำรวจแสดงให้เห็นภาพภาพ

รวมอยู่ในระดับปานกลาง (X

??

= 3.05) เมื่อพิจารณาด้านการมีส่วนร่วม พบว่า พฤติกรรมการมีส่วน

ร่วมของประชาชนต่อการจัดการป่ าต้นนํ้าห้วยภูแกง ด้านการปฏิบัติมากที่สุด (X

??

= 4.05) รองลงมา

คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (X

??

= 2.73) และด้านการมีส่วนร่วมในแสดงความคิดเห็น

(X

??

= 2.39) ในชณะที่ด้านการติดตามและประเมินผลโครงการอยู่ระดับปานกลางถึงน้อย ทั้งนี้ในทุก

ๆ ปี สมาชิกในชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่กรมป่ าไม้ร่วมกันสร้างฝายแม้วชะลอน้ำ 2 – 3 ครั้ง

รวมไปถึงในชุมชนมีประเพณีการเลี้ยงผีขุนน้ำในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี เพื่อเป็นการแสดง

ความขอบคุณผีขุนน้ำที่ปกปักรักษาป่ าไม้ที่เป็นต้นน้ำห้วยภูแกง ให้ประชาชนมีน้ำเพื่อใช้ในการทำ

การเกษตรกรรม

ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดการน้ำให้เกิดความยั่งยืนภายในชุมชน ได้แก่ 1) ด้านการอนุรักษ์

ทรัพยากรป่ าต้นน้ำ คือ การพัฒนาแหล่งน้ำ โดยการดูแลต้นน้ำที่ได้รับการพัฒนาสร้างฝายชะลอน้ำ

หากเกิดความชำรุด เสียหาย ให้รีบเร่งแก้ไขร่วมกันภายในชุมชน และการควบคุมและติดตาม

ตรวจสอบสิ่งที่จะทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ และ 2) ด้านบริหารจัดการทรัพยากรป่ าต้นน้ำคือ การให้

ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ การจัดประชุมประจำเดือนของกลุ่ม/ ชุมชน ร่วมกันเป็น

ประจำทุกเดือนเพื่อพูดคุยเรื่องปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

คำสำคัญ : การส่งเสริม , การมีส่วนร่วม , การจัดการป่ าต้นน้ำ , ห้วยภูแกง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : An Extension of Peoples Participation in Houy Phu Kaeng Watershed Forest Management, Chiang Khong District, Chiang Rai Province
Abstract :

This research aimed to investigated basic information in people’ s participation, the

development and extension of people’s participation in community forest management, and an

evaluation of peoples’ participation in community forest management. Focus group discussion and

In-depth interview techniques were used for data collection with 18 samples form Royal Forest

Department officers and head of village. The results shown that, majority of people were in

agricultural section but more in planting and livestock. Mostly, people received information

regarding water management by TV. Results of development and extension of peoples participation

in watershed forest management. Using AIC techniques (Appreciation Influence Control). The

results shown that, the first step is the process of knowledge creation (A). From organizing a forum

to exchange opinions. Along with a summary of the conditions and problems of community forests.

Analysis of the current situation of Huay Kaeng water users (A1). Problems encountered with water

shortage to be used for planting. Due to shallow water sources Causing usurpation over water Check

dams of the community In an old state, close to decay and decay Including flooding of agricultural

land. Resulting in determining the direction of the 4 villages that use Huay Kaeng river together In

order to know which direction it wants to be developed (A2). Step 2. Steps for creating development

guidelines (I) People in the community together find ways to develop. Step 3. Procedure for creating

guidelines (C) People in the community carry out activities together. People had moderate level

(X

??

= 3. 05) in participation as a whole, regarding participation behavior to Houy Phu Kaeng

watershed forest management, people had high level (X

??

= 4.05) in implementation aspect. Followed

by participation in decision making and opinion giving aspect respectively (X

??

= 2.73, X

??

= 2.39).

On the other hand, people had moderately low level in monitoring and evaluation. However, people,

village head, and Royal Forest Department Officers participated in Meo Dam construction 2-3 time

in a year. Moreover, community had tradition about watershed forest protection and conservation

called “Khun Nam ghost tradition in May of every year.

The suggestion for sustainability of watershed forest management are as follow:

1) Regarding watershed forest conservation, water resource development by construction of

Meo Dam for watershed treatment and immediately repair when it damage. Moreover, monitor andinvestigate water pollution. And 2) Regarding watershed forest management, government should

play an important role in terms of monthly meeting together with people for problem perceiving

and find the exact solution.

Keyword : Extension, Participation, Watershed Forest Management, Houy Phu Kaeng
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.นคเรศ รังควัต
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์ เครือคำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ดร.พนิตพิมพ์ สิทธิศักดิ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
246,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 246,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023