การเพิ่มศักยภาพระบบการผลิตข้าวไร่โดยใช้ถั่วลอดร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-026
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพิ่มศักยภาพระบบการผลิตข้าวไร่โดยใช้ถั่วลอดร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
บทคัดย่อ :

ระบบการผลิตข้าวไร่ร่วมกับถั่วลอดเป็นวิถีสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนบนพื้นที่สูง ในขณะเดียวกันจุลินทรีย์ในปมรากถั่วลอดจะมีบทบาทสาคัญต่อการหมุนเวียนธาตุอาหารของพืชปลูกร่วมกันสองชนิดนี้

ในการศึกษาการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวไร่โดยการใช้ถั่วลอดร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ปีที่หนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกไรโซเบียมในปมรากถั่วลอดและเชื้ออาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา(AMF) ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของถั่วลอดและข้าวไร่ ประกอบด้วยสองงานทดลองหลักดาเนินการปลูกพืชในกระถาง ภายใต้สภาพโรงเรือนหลังคาโปร่งใส และใช้ดินจากพื้นที่เกษตรที่สูงที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อแล้วในการปลูก งานทดลองที่หนึ่งคือการศึกษาการตอบสนองของถั่วลอด 3 สายพันธุ์ (สายพันธุ์ 14 41 และ 55) ต่อเชื้อไรโซเบียมและ AMF แยกการทดลองออกเป็น 3 การทดลองตามสายพันธุ์ แต่ละสายพันธุ์ได้รับ 6 ตารับการทดลอง ดังนี้ 1) ไม่ใส่เชื้อใด ๆ 2) ใส่เชื้อแบคทีเรียจากปมรากถั่วของแต่ละสายพันธุ์ ได้แก่ isolate 14/3 41/3 และ 55/5 สาหรับถั่วลอดสายพันธุ์ 14 41 และ 55 ตามลาดับ ตารับ 3 4 และ 5 ใส่เชื้อรา AMF1 AMF2 และ AMF3 ซึ่งแยกจากดินโครงการหลวงทุ่งเริง ตารับที่ 6 ใส่เชื้อรา AMF4 ของกรมวิชาการเกษตร วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 4 ซ้า งานทดลองที่สองศึกษาการตอบสนองของข้าวไร่สองพันธุ์ (พันธุ์ลืมผัว และซิวแม่จัน) ต่อเชื้อรา AMF1 AMF2 AMF3 และ AMF4 มีตารับที่ไม่ใส่เชื้อเป็นตารับควบคุม เป็นการทดลองแบบ 2x5 factorial วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 4 ซ้า ผลการทดลองพบว่า การใช้เชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วอย่างเดียว ทาให้ถั่วลอดทั้ง 3 สายพันธุ์ มีน้าหนักแห้งของส่วนเหนือดินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญโดยตารับการทดลองดังกล่าว ทาให้น้าหนักแห้งของส่วนเหนือดินของถั่วลอดสายพันธุ์ 14 41 และ 55 สูงกว่าถั่วลอดในตารับควบคุมร้อยละ 14 45 และ 28 ตามลาดับ และในสายพันธุ์ 14 และ สายพันธุ์ 41 การใช้แบคทีเรียปมรากถั่วอย่างเดียวยังทาให้ปริมาณไนโตรเจนที่ได้จากการตรึงไนโตรเจนสูงกว่าถั่วในตารับควบคุมร้อยละ 70 และ 47 ตามลาดับ แต่ในสายพันธุ์ 55 การใช้เชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วอย่างเดียว ไม่มีผลทาให้ปริมาณไนโตรเจนที่ได้จากการตรึงไนโตรเจนเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับตารับควบคุม การใช้เชื้อราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา AMF1 AMF2 AMF3 และ AMF4 ร่วมกับเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่ว ไม่ทาให้ร้อยละการเข้าสู่รากโดย AMF แตกต่างจากตารับควบคุม และไม่มีผลต่อการสะสมฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดินของถั่วลอดแต่ละสายพันธุ์ด้วย สาหรับถั่วลอดสายพันธุ์ 14 การใช้แบคทีเรียปมรากถั่วร่วมกับเชื้อราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา AMF ทุกกลุ่ม ทาให้ปริมาณไนโตรเจนที่ได้จากการตรึงไนโตรเจนต่ากว่าการใช้แบคทีเรียปมรากถั่วอย่างเดียว แต่ในถั่วสายพันธุ์ 41 และ สายพันธุ์ 55 การใช้เชื้อราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา AMF บางกลุ่มร่วมกับเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่ว ทาให้ปริมาณไนโตรเจนที่ได้จากการตรึงสูงกว่าการใช้แบคทีเรียปมรากถั่วอย่างเดียว ซึ่งได้แก่ AMF2 AMF3 และ AMF4 สาหรับถั่วสายพันธุ์ 41 และ AMF3 สาหรับถั่วสายพันธุ์ 55

พันธุ์ข้าวสองพันธุ์มีปฏิสัมพันธ์กับเชื้อ AMF ในลักษณะความสูงต้น แลการแตกกอ พันธุ์ลืมผัวตอบสนองต่อเชื้อ AMF2 AMF3 AMF4 ในด้านความสูงได้ดีกว่าพันธุ์ซิวแม่จัน แต่พันธุ์ซิวแม่จันตอบสนองต่อทุกเชื้อ AMF โดยเฉพาะ AMF1 ในด้านการแตกกอได้ดีกว่าพันธุ์ลืมผัว

คำสำคัญ : ถั่วลอด เชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ข้าวไร่ ไรโซเบียม เชื้อราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Improving Upland Rice Productivity System by Cowpea (Vigna unquiculata L. Walp) and Effective Microorganisms
Abstract :

The co-planting between upland rice and cowpea production system is a way to create food security of highland communities. Meanwhile, a rhizobium in cowpea’s nodule plays an important role in the nutrient circulation of these plants.

First year, the aim of research is to evaluate the beneficial of microbial inoculation to cowpea (Vigna unguiculata) for improving upland rice productivity. The experimental design was divided two major pot experiments which conducted under the plastic greenhouse and used sterile soil from highs-land. The first experiment was the response of three varieties of cowpea (line 14 41 and 55) on rhizobium and AMF. The experiment was split into three sub-experiments according to varieties. Each variety had 6 treatments as follows:treatment 1 was no inoculation, treatment 2 was inoculated with root nodule bacterial (R) isolate 14/3 41/3 and 55/5 of each cowpea’s varieties (R), respectively. Treatment 3, 4 and 5 was inoculated both of rhizobium and AMF (AMF1, AMF2, and AMF3, respectively) from Thung Roeng Royal project. The treatment 6 was inoculated both of rhizobium and AMF4 form department of agriculture. The completely randomized design (CRD) with 4 replications was used. The second experiment was to study AMF1 AMF2 AMF3 and AMF4responsive on two varieties of upland rice (Luempua and Sew Mae Jan). The control treatment was no inoculation. The experiment was conducted using 2x5 factorial in CRD with 4 replications. Treatment as follows: treatment 1 was no AMF inoculation, treatment 2-5 were inoculated with AMF1, AMF2, AMF3 and AMF4 respectively. The result was found that the single inoculation of root nodule bacterial treatment increased the dry biomass of the above ground part of 14, 41 and 55 cowpea (14, 45 and 28 %, respectively) was higher than the control treatment (P<0.01). The 14 and 41 cowpea line, single inoculation of root nodule isolated bacterial was also increased the amount of fixed nitrogen higher than the control treatment about 70 and 47%, respectively. On the other hand, the 55 cowpea line, root nodule bacterial inoculation did not increased the amount of fixed nitrogen compared to the control. Both of inoculation of AMF (AMF1, AMF2, AMF3 and AMF4) and root nodule bacteria did not significantly affect on the percentage of root colonization compared with control treatment and did not change the phosphorus uptake of each cowpea line. The 14 cowpea line, both of inoculation of rhizobium isolated (R) and AMF treatments was reduced the amount of fixed nitrogen compared with the control treatment. In contrast, the 41 and 55cowpea lines were increased the amount of fixed nitrogen compared with the control treatment (R+AMF2, R+AMF3 and R+AMF4 for 41 cowpea line and R+AMF3 for cowpea 55 line). The results showed that Luempua and Sew Mae Jane rice varieties were different for the response to AMF inoculation on plant height and number of tillers per hill. The plant height of Luempua rice was higher than the Sew Mae Jane rice. The Sew Mae Jane was significantly responded to all AMF groups while Luempua rice was responded to AMF1 only. All of the AMF inoculation treatment was significantly improved the number of tillers per hill for both of upland rice varieties.

Keyword : cowpea, effective microorganisms, upland rice, rhizobium, arbuscular mycorrhiza
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์ นาขยัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 นางสาววิลาสลักษณ์ ว่องไว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 นายสิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์ นาระทะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 อาจารย์ ดร.รัชชานนท์ สมบูรณ์ชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมารแผ่นดินแม่โจ้
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023