การศึกษาวัสดุดูดซับสำหรับการประยุกต์ใช้งานสำหรับกำจัดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างในลำไย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-022
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาวัสดุดูดซับสำหรับการประยุกต์ใช้งานสำหรับกำจัดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างในลำไย
บทคัดย่อ :

การรมผลลำไยด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นวิธีการเก็บรักษาผลลำไยที่ใช้กันอย่าง

แพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันโรคหลังการเก็บเกี่ยวและฟอกสีผิวผลซึ่ง

สามารถควบคุมการเน่าเสียของผลลำไยจากเชื้อรา และป้องกันการเกิดสีน้ำตาลบนผิวลำไย อย่างไรก็

ตามซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างจากกระบวนการรมผลลำไยยังคงเป็นปัญหาหลักในการส่งออกผลผลิต

ลำไยไปต่างประเทศ ในงานวิจัยนี้ได้ใช้ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านเคลือบผิวเพื่อกำจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์

ตกค้างในผลลำไยสด โดยทำการแช่ในสารเคมีกลุ่มเบสโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) ที่มีความ

เข้มข้นระหว่าง 0-8 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก แล้วนำสารตัวอย่างไปหาพื้นที่ผิวด้วยเทคนิค BET ศึกษา

พฤติกรรมการเกิดเฟส ลักษณะสัณฐาณและกลุ่มฟังก์ชันที่ผิวของตัวอย่างด้วยเทคนิค XRD SEM และ

FTIR ตามลำดับ ซึ่งพบว่าสารตัวอย่างถ่านกัมมันต์ที่ไม่เคลือบผิวมีพื้นที่ผิว 773 ตารางเมตรต่อกรัม

และมีแนวโน้มลดลงเมื่อมีการเคลือบด้วย KOH ที่มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้น จากลักษณะสัณฐานถ่านกัม

มันต์เกิดการเกาะกลุ่มกัน ในขณะที่กลุ่มฟังก์ชันแสดงให้เห็นองค์ประกอบของถ่านกัมมันต์และมีพีค

กลุ่มฟังก์ชันของ KOH และลำดับสุดท้ายได้ทำการทดลองประสิทธิภาพการกำจัด SO2 ของถ่านกัม

มันต์ที่แช่และไม่แช่โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ พบว่าถ่านกัมมันต์ที่ไม่แช่โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์

สามารถกำจัด SO2 ได้อย่างมีประสิทธิภาพดีที่สุด

คำสำคัญ : วัสดุดูดซับซัลเฟอร์ไดออกไซด์; ถ่านกัมมันต์; ลำไย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Study of Adsorbent Materials for Removal Sulfur Dioxide Residue in Fresh Longan Application
Abstract :

Fumigating fresh longan with sulfur dioxide (SO2) is commonly used in Thailand

as an effective postharvest method to controll saprophytic surface fungi and prevent

skin browning. However, SO2 residues is a problem for exportation. In this work, the

impregnated activated carbon was used to remove sulfur dioxide residue in fresh

longan. The commercial activated carbon (AC) was impregnated with alkaline

compound as potassium hydroxide (KOH) at verious concentration in the range of 0-8

wt%. The surface area of activated carbons and impregnated activated carbon were

characterized by BET. The phase formation, morphology and functional groups on the

surface of activated carbon samples were investigated by x-ray diffraction (XRD),

scanning electron microscopy (SEM) and Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR),

respectively. The surface area analysis of activated carbons and impregnated activated

carbon was 773 m2/g and it was continuously decreased when the concentration of

KOH increased. SEM micrographs showed the agglomeration of activated carbon

powders. The functional groups of activated carbon were found in FTIR spectrum which

were there composition. The results indicated that the activated carbons and

impregnated activated carbon showed usability to be used as sulfur dioxide sorbent.

In additionally, the activated carbons without impregnation show the maximum ability

absorption SO2 residues in the fumigation fresh longan.

Keyword : Activated carbon; Sulfur dioxide; Longan
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัตรา วงศ์แสนใหม่
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
288,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 288,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023