การส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ โดยการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ควบคู่กับวิธีทางกายภาพโดยการฉายรังสี : การทดสอบระดับแปลง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-015
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ โดยการใช้จุลินทรีย์กลุ่ม PGPR ควบคู่กับวิธีทางกายภาพโดยการฉายรังสี : การทดสอบระดับแปลง
บทคัดย่อ :

ปัญหาสารเคมีตกค้างในสินค้าเกษตรโดยเฉพาะในข้าว ซึ??งเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็น

เรื??องที??ส่งผลกระบต่อสุขภาพของผู้บริโภค รวมทั??งตัวเกษตรกรที??เป็ นผู้ใช้สารเคมีเอง การนำ

แบคทีเรียบริเวณรากพืชที??สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช (PGPR) มาใช้ร่วมกับการฉาย

รังสีแกมมา จึงเป็นอีกแนวทางหนึ??งในการช่วยลดการใช้สารเคมีให้กับเกษตรกร โดยการวิจัยนี??มี

วัตถุประสงค์เพื??อทดสอบความเข้มข้นของการฉายรังสีแกมมาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และอายุการ

เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ ความสามารถในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ของจุลินทรีย์

กลุ่ม PGPR ผลการวิจัยพบว่า ความเข้มข้นของรังสีแกมมาที?? ???? Gray ส่งเสริมเสริมให้เมล็ดข้าวไร่

พันธุ์เจ้าฮ่อมีอัตราการงอกมากที??สุด และ เพิ??มขึ??นเมื??อผ่านการเก็บรักษาเป็นระยะเวลานานขึ??นจาก

95.00 ? 1.19 % เมื??อเก็บรักษาครบ ???? วัน และ ??????.???? ? 0 % เมื??อเก็บรักษาครบ ???? วัน เมื??อนำ

จุลินทรีย์ PGPR จำ นวน ?? ไอโซเลท ได้แก่ Bacillus isolate MC 8, Bacillus isolate MC 15,

Bacillus isolate MC 21 และ Bacillus isolate S.N. 5.6 มาทดสอบการละลายฟอสเฟตโดยเลี??ยงใน

อาหาร Pikovskaya’s agar medium ทดสอบการละลายโพแทสเซียม ด้วยวิธี spot test method บน

อาหาร Aleksandrov agar medium และ ทดสอบสอบการผลิตไซเดอร์โรฟอร์ บนอาหาร Chrome

Azurole S agar (CAS) ผลการวิจัยพบว่า Bacillus isolate S.N. ??.?? มีความสามารถในการละลายฟอสเฟต และ ผลิตไซเดอร์โซฟอร์ ได้ดีที??สุด อย่างไรก็ตาม พบว่า จุลินทรีย์ PGPR จำนวน ?? ไอโซ

เลท ที??นำมาทดสอบ ไม่มีความสามารถในการละลายโพแทศเซียม จากนั??นนำจุลินทรีย์ PGPR และ

ความเข้มข้นของรังสีแกมมาที??ผ่านการทดสอบการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวไร่ในระยะกล้า

???? วัน มาทำการทดสอบต่อในระยะแตกกอ ???? วัน โดยคัดเลือกจุลินทรีย์ PGPR และ ความเข้มข้น

ของรังสีแกมมา ที??มีผลต่อข้าวไร่ในระยะกล้า ???? วัน มากที??สุด ได้แก่ Bacillus isolate MC 21

ร่วมกับการฉายรังสีที?? ???? Gray และ น้อยที??สุด ได้แก่ Bacillus isolate S.N. 5.6 ร่วมกับการฉายรังสีที??

60 Gray มาใช้ร่วมกันในการปลูกข้าวไร่ระยะแตกกอ ???? วัน ผลการวิจัยพบว่า เมล็ดข้าวไร่ที??ผ่านการ

ฉายรังสีแกมมาที??ความเข้มข้น ???? Gray แล้วนำไปแช่ใน Bacillus isolate S.N. 5.6 มีผลต่ออัตราการ

งอก ของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มากที??สุด โดยมีค่าเฉลี??ย ??????.???? ? 0 % ในส่วนของอัตราการเจริญเติบโต

และ การสะสมของจุลินทรีย์ PGPR ภายในดินหลังจากการปลูกข้าวไร่พันธุ์เจ้าฮ่อในระยะแตกกอ

ผลการวิจัยพบว่า เมล็ดข้าวไร่ที??ผ่านการฉายรังสีแกมมาที??ความเข้มข้น ???? Gray แล้วนำไปแช่ใน

Bacillus isolate MC 21 มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตมากที??สุดได้แก่ ความสูงของต้น ข้าวไร่

เฉลี??ย 42.02 ? 23.14 cm จำนวนใบเฉลี??ย ????.???? ? ????.???? นํ??าหนักใบสดเฉลี??ย 93.33 ? 1.52 g นํ??าหนัก

แห้งเฉลี??ย ????.???? ? 0.54 g และ การสะสมของจุลิทรีย์ PGPR ภายหลังจากการปลูกข้าวไร่ ??.???106

cfu/g จึงสรุปได้ว่า การฉายรังสีแกมมาร่วมกับการใช้จุลินทรีย์ PGPR สามารถนำมาใช้ทดแทน

ปุ๋ยเคมีที??ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมได้

คำสำคัญ : ข้าวไร่ , การส่งเสริมการเจริญของข้าว , พีจีพีอาร์ , การงอกของเมล็ด , การฉายรังสี
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Enhancement of Upland Rice Growth Promoting by Plant Growth Promoting Rhizobacteria (PGPR) Combined with Physiological Methods by Irradiation: Field experiments
Abstract :

Residual chemical problems in agricultural products, especially in rice. Which is the

main food of Thai people. The use of plant root bacteria that can promote plant growth with

rhizobacteria (PGPR) and gamma irradiation. In other hand, the way that help reduce the use of

chemicals for farmers. This research aims were to test the concentration of gamma ray on seed

quality and shelf life of upland rice seed ability to promote the growth of upland rice of PGPR

microorganisms. Results show that gamma rays at 40 Gray promoted the seed germination of Jow

Haw with the highest germination rate and increased when stored for a longer period of time from

95.00 ? 1.19% at 14 days and 100.00 ? 0% at 28 days. 4 PGPR treatment including isolates of

PGPR Bacillus isolate MC 8, Bacillus isolate MC 15, Bacillus isolate MC 21 and Bacillus isolate

S. N. 5.6 were tested the for phosphate solubility on Pikovskaya’s agar medium and potassium

solubility using spot test method on Aleksandrov agar medium culture and for siderophores

production on Chrome Azurole S agar (CAS). Bacillus isolate S.N. 5.6 was the best treatment

which showed the highest phosphate solubility and siderophores production. After that, PGPR

treatment and gamma ray treatment for plant growth promotion of were tested to promote the

growth upland rice for 49 days. Treatment of gamma ray at 60 Gray and Bacillus isolate S.N. 5.6

effected the germination rate was 100.00 ? 0 %. Treatment of gamma ray at 60 Gray and Bacillus

isolate MC 21 effected the growth rate showed that height of plant was 42.02 ? 23.14 cm, number

of leaves was 18.47 ? 13.58, leaves fresh weight and dry weight were 93.33 ? 1.52 g and 14.46 ?

0.54 g respectively, and accumulation of PGPR microorganisms within the soil was 6 .3 ?1 0 6

cfu/g. In conclusion, gamma ray combination with PGPR treatment can be used to replace

chemical fertilizers that effect the environment.

Keyword : Upland Rice, Enhancement of rice growth, PGPR, Seedling, Irradiation
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มธุรส ชัยหาญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
40 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรนภา อินสลุด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.กิตติคุณ พระกระจ่าง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023