การทดสอบแก้วเชื่อมประสานในเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็งแบบแผ่น ในสภาวะเสมือนจริง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-014
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การทดสอบแก้วเชื่อมประสานในเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็งแบบแผ่น ในสภาวะเสมือนจริง
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี??ศึกษาแก้วระบบแบเรียมบอโรซิลิเกตทั??งหมด 7 องค์ประกอบ คือ 1) แบเรียมบอ

โรซิลิเกต 2) แบเรียมซิงค์บอโรซิลิเกต 3) แบเรียมแคลเซียมบอโรซิลิเกต 4) แบเรียมสตรอนเชียม

บอโรซิลิเกต 5) แบเรียมซิงค์แคลเซียมบอโรซิลิเกต 6) แบเรียมซิงค์สตรอนเชียมบอโรซิลิเกต และ

7) แบเรียมแคลเซียมสตรอนเชียมบอโรซิลิเกต โดยศึกษาผลขององค์ประกอบทางเคมีต่อ

สัมประสิทธิ?? การขยายตัวทางความร้อนด้วยเครื??องไดลาโตมิเตอร์ ตรวจสอบและติดตามผลึกที??เกิด

ของแก้วเชื??อมประสานก่อนและหลังใช้งานด้วยเครื??องวิเคราะห์การเลี??ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ และ

ติดตามการเปลี??ยนแปลงบริเวณรอยต่อแก้วเชื??อมประสาน ด้วยเทคนิคกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

แบบส่องกราดกับรังสีเอ็กซ์สเปคโตรสโครปีแบบกระจายพลังงาน การเชื??อมต่อเซลล์จะเชื??อมต่อ

ระหว่างอิเล็กโทรไลต์ชนิดซีเรียเจือด้วยซามาเรียกับแก้ว และโลหะเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอริติกชนิด

Crofer 22 APU กับแก้ว ผลการทดลอง พบว่าการเติมแคลเซียมออกไซด์ สตรอนเชียมออกไซด์ และ

ซิงค์ออกไซด์ในแก้วแบเรียมบอโรซิลิเกต ส่งผลต่อการลดลงของค่าสัมประสิทธิ?? การขยายตัวทาง

ความร้อน เท่ากับ 9.68 9.84 และ 5.24 ? 10-6 ?C–1 ตามลำดับ ซึ??งการเติมซิงค์ออกไซด์ส่งผลเสียต่อ

การลดลงของค่าสัมประสิทธิ??การขยายตัวทางความร้อนของแก้วแบเรียมซิงค์บอโรซิลิเกตอย่างมาก

และจากการทดสอบแก้วเชื??อมประสานกับซีเรียเจือด้วยซามาเรียอิเล็กโทรไลต์ และโลหะเชื??อมต่อ

ชนิดเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอริติก Crofer 22 APU ภายหลังจากการทดสอบสภาวะการทำงานที??

อุณหภูมิ 800 ?C เป็นเวลา 50 ชั??วโมง พบว่า แก้วในระบบแบเรียมบอโรซิลิเกต แบเรียมสตรอนเชียม

บอโรซิลิเกต แบเรียมซิงค์แคลเซียมบอโรซิลิเกต และแบเรียมซิงค์แคลเซียมบอโรซิลิเกต เกิดการเชื??อมต่อที??ดีสภาพรอยต่อสมบูรณ์ และภายหลังการทดสอบการรั??วของแก๊สของแก้วแบเรียมซิงค์

สตรอนเชียมบอโรซิลิเกต อุณหภูมิ 700 ?C เป็นเวลา 9 ชั??วโมง ในสภาวะบรรยากาศไฮโดรเจนและ

ออกซิเจน พบว่ามีการเชื??อมต่อดี ไม่พบการแตกร้าวบริเวณรอยต่อ ดังนั??นมีความเป็นไปได้ที??จะนำ

แก้วเชื??อมประสานในระบบแบเรียมซิงค์สตรอนเชียม บอโรซิลิเกตมีความเหมาะสม สามารถ

นำไปใช้งานได้สำหรับเซลล์เชื??อเพลิงออกไซด์ของแข็งแบบแผ่นได้

คำสำคัญ : แก้วเชื??อมประสาน เซลล์เชื??อเพลิงออกไซด์ของแข็งแบบแผ่น การตกผลึก การทดสอบการรั??ว รอยต่อ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Testing of Planar Solid Oxide Fuel Cells Glass Sealant in Realistic Condition
Abstract :

Seven barium borosilicate glass samples have been investigated, in which their

composition are 1) barium borosilicate 2) barium zinc silicate 3) barium calcium silicate 4) barium

strontium silicate 5) barium zinc calcium silicate 6) barium zinc strontium silicate and 7) barium

calcium strontium silicate. The effect of ZnO, CaO and SrO additives on the coefficient of thermal

expansion (COE) by dilatometer has been studied. The amorphous and crystallinity of the samples

before and after use were investigated via both X-ray diffractometer. The sealing interface was

observed using scanning electron microscopy with energy dispersive spectroscopy. The joined

Samaria doped yttria electrolyte (SDC)/glass-ceramic and the metallic interconnect (Crofer 22

APU)/glass-ceramic was tested at the SOFC working temperature of 800 ?C for 50 h. The results

showed that ZnO, CaO, and SrO affect the COE values, in which values are 5.24, 9.68, and

9.84 ? 10-6 ?C-1, respectively. ZnO showed a drawback effect on COE value in barium zinc

borosilicate. The joint interfaces between the glass sealants and Crofer 22 APU after crystallization

at 800 ?C for 50 h show the barium borosilicate, barium strontium borosilicate, barium zinc calcium

borosilicate, and barium zinc strontium borosilicate adhered well to SDC electrolyte and Crofer 22

APU metallic interconnect. After gas tightness of barium zinc strontium borosilicate at 700 ?C for

9 h in H2/O2 atmosphere showing good bonding, which no crack has been observed at interface.

Therefore, barium zinc strontium borosilicate is possibly suitable for working with Planar-SOFCs.

Keyword : Glass Sealant, Planar Solid Oxide Fuel Cell, Crystallization, Gas Tightness, Sealing Interface
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 นางสาวจิรัชญา อายะวรรณา
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : *
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023