พลาสมาความดันบรรยากาศสำหรับการเลี้ยงกล้วยไม้

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-012
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : พลาสมาความดันบรรยากาศสำหรับการเลี้ยงกล้วยไม้
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้ศึกษาความเป็นไปได้ในการนาเทคโนโลยีพลาสมาความดันบรรยากาศแบบเจ็ท มาใช้ทดแทนการใช้สารเคมีในการเลี้ยงกล้วยไม้ ได้ทาการทดลองเลี้ยงกล้วยไม้นิ้วที่มีอายุ 6 เดือน จนเติบโตเป็นกล้วยไม้รุ่นอายุ 25 เดือน พบว่าในกรณีที่พ่นด้วยสารเคมีและในกรณีที่อาบด้วยพลาสมาบนใบและลาต้นของต้นกล้วยไม้นานต้นละ 5 นาที เป็นประจา 3 วันต่อครั้ง คุณภาพของใบกล้วยไม้มีความมันวาวเหมือนกัน แต่ในกรณีที่ปล่อยไปตามธรรมชาติพบใบเกิดเป็นโรคจุดทุกใบ ซึ่งการสร้างสถานะพลาสมาเป็นการสร้างสภาวะที่สามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีชั่วคราวขึ้นโดยสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงที่เกิดขึ้นระหว่างขั้วอิเล็คโทรดสามารถผลิตอะตอมหรือโมเลกุลที่ไม่เสถียร เช่น O, OH และ O3 ที่สามารถเข้าทาปฏิกิริยากับผนังเซลล์ของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กได้ เมื่อไม่มีสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงดังกล่าว สถานะพลาสมาก็จะหมดสิ้นไปและกลับมาสู่สภาวะที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเช่นเดิม

จากการทดสอบความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis (BS) บนอาหารเลี้ยงเชื้อ Potato Dextrose Agar (Plate) ที่เพาะเลี้ยงภายใต้สภาวะอุณหภูมิห้อง 25?C - 30?C เป็นระยะเวลา 48 ชั่วโมง หลังผ่านการอาบพลาสมาเจ็ทชนิด 3 หัวที่มีกระแสของพลาสมา 180 ?A เป็นเวลา 5 นาที พบว่า พลาสมาเจ็ทสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ BS ได้ ซึ่งพบการเจริญเติบโตของ BS ที่เป็นลักษณะจุด (โคโลนี) ของเชื้อแบคทีเรียในจานวนที่น้อยกว่าในกรณีที่ไม่อาบด้วยพลาสมา

อย่างไรก็ตามเนื่องจากกระแสของพลาสมาที่ผลิตได้มีค่าต่าคือ 180 ?A ทาให้กระบวนการอาบพลาสมาจะใช้เวลานานกว่ามาก (สูงกว่า 20 เท่า) เมื่อเทียบกับการอาบต้นกล้วยไม้ด้วยการพ่นสารเคมี ซึ่งใช้เวลาโดยประมาณ 15 วินาทีต่อต้น ดังนั้นเงื่อนไขของกระบวนการ ณ ปัจจุบันจึงยังไม่เหมาะสมในการนาไปใช้ในการเลี้ยงกล้วยไม้ที่มีปริมาณมาก แต่เหมาะสาหรับการเลี้ยงกล้วยไม้จานวนน้อยประเภทพ่อแม่พันธุ์เพื่อขยายพันธุ์โดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

คำสำคัญ : การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ , พลาสมาความดันบรรยากาศ , ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Atmospheric pressure plasma for cultivation of orchids
Abstract :

This research studied the possibility of using atmospheric pressure plasma technology to replace the chemical used in orchids cultivation. By cultivated orchids aged 6 months until growing into a 25 months, it was found that in the case of spraying with chemicals and plasma treated on the leaves and stems of the one orchid for 5 minutes (with frequency of one time per three days), the quality of the orchid leaves has the same luster. For in the case of natural growth, every leaf has spot disease. The creation of a plasma state is a condition in which a temporary chemical reaction is created by an electric filed. The high voltage generated between the electrode can produce unstable atoms or molecules such as O, OH and O3. That can interact with the cell walls of microorganisms. The plasma state is on longer when an electric field is turn off, therefore the charged particles will return to neutral.

From the ability test to inhibit the growth of Bacillus Subtilis (BS) on potato dextrose agar (plate) by culturing under room temperature 25?C - 30?C for 48 hours after treated with plasma jets ( 3 heads type) which produces plasma current at 180 ?A for 5 minutes, it was found that plasma jet inhibited the growth of BS which showed that the growth of BS appeared as points (colony) of bacteria in a smaller number than in the case of untreated with plasma.

However, since the plasma current produced is low at 180 ?A, treated with plasma jet method will take much longer process time (20 times higher) compared to spraying chemical method which takes approximately 15 seconds per one orchid. Therefore, the current process conditions are not suitable for use in large orchids but suitable for raising a small number of orchid breeders for propagated by tissue culture methods.

Keyword : orchids cultivation, atmospheric pressure plasma, bacteria growth inhibition
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูพงษ์ ภาคภูมิ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ กรรเชียง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023