การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางโฟมจากยางธรรมชาติโดยใช้รำสกัดน้ำมันเป็นสารตัวเติม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-011
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางโฟมจากยางธรรมชาติโดยใช้รำสกัดน้ำมันเป็นสารตัวเติม
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลชนิดของยางธรรมชาติ อุณหภูมิในกระบวนการเกิดโฟม รวมถึงระบบการคงรูปต่อสมบัติของยางโฟมที่ใช้ราสกัดน้ามันเป็นสารตัวเติม โดยมีการศึกษาสมบัติการคงรูป โครงสร้างเซลล์ การดูดซึมน้า การบวมพอง สมบัติเชิงกล สมบัติความทนทานต่อความร้อน และสมบัติเชิงพลวัตร เมื่อเปรียบเทียบระหว่างยางโฟมจากยางธรรมชาติ (NR) และยางโฟม จากยางธรรมชาติอิพอกซิไดซ์ (ENR) ที่ใช้ราสกัดน้ามันปริมาณ 30 phr เท่ากัน พบว่ายางโฟม NR มีขนาดรูพรุนที่ใหญ่กว่า มีสมบัติเชิงกลและสมบัติความทนต่อความร้อนที่ดีกว่ายางโฟม ENR อย่างไรก็ตามยางโฟม ENR มีความสม่าเสมอของขนาดรูพรุน และสมบัติการดูดซับพลังงานที่สูงกว่า นอกจากนั้นเมื่อเปรียบเทียบระบบการคงรูปด้วยกามะถันแบบต่าง ๆ ต่อสมบัติของยางโฟมพบว่า ในกรณีของยางโฟม NR ระบบการคงรูปแบบดั้งเดิม (CV) ให้ยางโฟมมีสมบัติความต้านทานแรงดึง ความต้านทานการฉีกขาด ความสามารถคืนตัวหลังได้รับแรงกดอัดดีกว่าระบบการคงรูปอื่น ๆ และอุณหภูมิในกระบวนการเกิดโฟมที่ 160 ?C ทาให้ได้ยางโฟมที่มีรูพรุนขนาดใหญ่กว่าการใช้อุณหภูมิที่ 150?C

คำสำคัญ : ยางธรรมชาติ ยางธรรมชาติอิพอกซิไดซ์ ราสกัดน้ามัน ยางโฟม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Natural Rubber Foams Filled with Defatted Rice Bran
Abstract :

The objectives of this project were to study the effects of natural rubber (NR), epoxidized natural rubber (ENR), foam processing temperatures and vulcanized systems on properties of rubber foam filled with defatted rice bran (DRB). Cure characteristics, cell morphology, water absorption, mechanical properties, heat aging resistance and dynamic properties were investigated. The properties of NR and ENR foams filled with 30 phr of DRB were compared. The results indicated that NR foam showed greater cell size, mechanical properties and heat aging resistance. However, ENR foam exhibited more uniform of cell size and better damping properties. The different sulphur vulcanization systems were also compared. The Conventional vulcanization system (CV) gave NR foam with highest tensile strength, tear strength and loweest compression set value. Moreover, the foam processing temperature at 160 ?C gave greater cell size, as compared to foam processing temperature at 150 ?C.

Keyword : Natural rubber, Epoxidized natural rubber, Defatted rice bran, Rubber foam
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดริญญา มูลชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023