การตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบติดตามการรักษาของสัตวแพทย์แบบหลายคนพร้อมกัน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-005
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบติดตามการรักษาของสัตวแพทย์แบบหลายคนพร้อมกัน
บทคัดย่อ :

คลินิกรักษาสัตว์ส่วนใหญ่จัดเก็บข้อมูลการรักษาสัตว์เลี้ยงและการรักษาเป็นเอกสาร ทาให้ต้องใช้เวลานานในการบันทึกข้อมูลการรักษาแต่ละเคส ผู้วิจัยจึงพัฒนาระบบติดตามการรักษาของสัตวแพทย์แบบหลายคนพร้อมกันเพื่อให้การบันทึกข้อมูลการรักษาสัตว์ทาได้รวดเร็วขึ้น ระบบติดตามการรักษาของสัตวแพทย์แบบหลายคนพร้อมกันมีผู้ใช้ 3 ประเภท ได้แก่ พนักงาน สัตวแพทย์ และผู้จัดการ พนักงานเป็นบทบาทที่มีสิทธิ์ในการใช้งานระบบต่าที่สุด และผู้จัดการมีสิทธิ์สูงที่สุด พนักงานสามารถจัดการข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลเจ้าของสัตว์ ข้อมูลสัตว์เลี้ยง ค่าใช้จ่าย และลาดับการรักษา สัตวแพทย์สามารถจัดการข้อมูลการรักษา และสุดท้ายผู้จัดการสามารถจัดการสิทธิ์ผู้ใช้ระบบ และดูรายได้จากการรักษา สถาปัตยกรรมของระบบนี้เป็นแบบโมเดล วิว และคอนโทรลเลอร์ ด้วยเซิร์ฟเลต เจเอสพีและภาษาจาวา มายเอสคิวแอลเป็นระบบการจัดการฐานข้อมูล และไอรีพอร์ตเป็นเครื่องมือในการสร้างรายงาน ค่าเฉลี่ยของเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลสัตว์เลี้ยงด้วยระบบ CVTS คือ 25.14 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.02 ขณะที่ค่าเฉลี่ยในการค้นหาข้อมูลสัตว์เลี้ยงแบบดั้งเดิม คือ 37.09 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 23.24 ดังนั้น CVTS จึงมีประสิทธิภาพดีกว่าการเข้าถึงข้อมูลสัตว์เลี้ยงแบบดั้งเดิม

คาสาคัญ: ระบบการจัดการสัตวแพทย์ คลินิกสัตวแพทย์ ระบบบันทึกข้อมูลสัตว์เลี้ยง ระบบสุขภาพสัตว์เลี้ยง ระบบการจัดการคลินิก

คำสำคัญ : ระบบการจัดการสัตวแพทย์ คลินิกสัตวแพทย์ ระบบบันทึกข้อมูลสัตว์เลี้ยง ระบบสุขภาพสัตว์เลี้ยง ระบบการจัดการคลินิก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Efficiency Validation of Concurrent Veterinary Tracking System
Abstract :

Most veterinary clinics record pet data and their healing into documents, this operation takes a long time to record each case. So that we develop the Concurrent Veterinary Tracking System (CVTS) for recording the pet healing rapidly. There are three types of user in the CVTS : employee; veterinarian; and manager. The employee role is the lowest authority and the manager is the highest. Employees can manage the master data in the system that are the pet’s owner, pet data, treatment fee, and the queue system. Veterinarians can modify the treatment data. The final users, the manager can manipulate the user authority data and access the revenue of the clinic. The architecture of this system is model, view, and controller by servlet, JSP and Java language, MySQL is the database management system and iReport is the report generating tool. The average CVTS time for getting pet’s data is 25.14 seconds and a standard deviation value is 10.02. While as the average time of the original process is 37.09 seconds, s.d. is 23.24. Therefore CVTS is faster accessing than the original pet record procedure.

Keyword : Veterinary management system, Veterinary clinic, Pet Record System, Pet Health Care System, Clinic management system
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ก่องกาญจน์ ดุลยไชย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์อรรถวิท ชังคมานนท์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
82,900.00
   รวมจำนวนเงิน : 82,900.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 กันยายน 2561
วารสารที่ตีพิมพ์ : ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
ฉบับที่ : -
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สกอ.
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023