ประสิทธิภาพของไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ผลิตจากกากเห็ดหลินจือโดยเอนไซม์ ไคโตซาเนสจากแบคทีเรียต่อการยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-001
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ประสิทธิภาพของไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ผลิตจากกากเห็ดหลินจือโดยเอนไซม์ ไคโตซาเนสจากแบคทีเรียต่อการยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง
บทคัดย่อ :

ในการศึกษาการผลิตเอนไซม์ไคโตซาเนสเพื่อใช้ในการผลิตไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ โดยทำการคัดแยก

แบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์ไคโตซาเนสจากถั่วเน่า พบว่ามีแบคทีเรียจำนวน 30 ไอโซเลท โดยมีแบคทีเรียไอโซเลท

TCM 1.2 และ TCR 1.3 ที่ให้กิจกรรมของเอนไซม์ไคโตซาเนสสูงเท่ากับ 0.265 U/ml และ 0.302 U/ml

ตามลำดับ เมื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์ไคโตซาเนส พบว่าทั้งไอโซเลท TCM 1.2 และ

TCR 1.3 ใช้ไคโตซานเป็นแหล่งคาร์บอนร้อยละ 1.5 w/v สารสกัดจากยีสต์เป็นแหล่งไนโตรเจนร้อยละ 1.0

w/v เลี้ยงในอาหารเหลวที่ความเป็นกรดเบสเท่ากับ 6.0 มีค่ากิจกรรมของเอนไซม์ซึ่งเท่ากับ 1.19 และ 1.27

U/ml ตามลำดับ ในวันที่ 5 ของการเลี้ยง สภาวะที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ไคโตซาเนสที่ผลิตได้

จากทั้งสองไอโซเลทสามารถเกิดกิจกรรมได้ดีที่ค่าความเป็นกรดเบสในช่วง 5 - 6 และอุณหภูมิเท่ากับ 50 องศา

เซลเซียส ผลผลิตที่ได้จากการย่อยไคโตซานด้วยเอนไซม์ไคโตซาเนสที่ผลิตได้จากทั้งสองไอโซเลท ให้ผลผลิต

เป็นไคโตโอลิโกแซคคาไรด์หลายชนิด และเมื่อนำแบคทีเรียไอโซเลท TCM 1.2 และ TCR 1.3 มาจัดจำแนกชนิด

ของสายพันธุ์โดยการเปรียบเทียบลำดับเบสของยีน 16S rRNA โดยใช้ไพรเมอร์ 27F (5?-

AGAGTTTGATCMTGGCTCAG-3?) และ 1522R (5?-AAGGAGGTGATCCAGCCGCA-3?) และทำการตั้งชื่อ

แบคทีเรียดังกล่าว คือ Bacillus subtilis TCM 1.2 และ Bacillus tropicus TCR 1.3 ตามลำดับ เอนไซม์

ไคโตซานเนสที่ผลิตได้จากแบคทีเรียทั้งสองไอโซเลทในงานวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปประยุกต์ในการผลิตไคโตโอ

ลิโกแซคคาไรด์จากแหล่งต่าง ๆ ได้

คำสำคัญ : แบคทีเรีย ไคโตซาเนส ไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ สภาวะที่เหมาะสม 16S rRNA
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Potential of Chitooligosaccharides Produced from Lingzhi (Ganoderma lucidum) Waste by Chitosanase Producing Bacteria on Cancer Cell Growth Inhibition
Abstract :

Chitosanase was applied to producing chitooligosaccharides. Chitosanase producing

bacteria were screened from fermented soybean (Tua Noa). Thirty isolates were found in this

study. High chitosanase activity was observed in the isolates TCM 1.2 and TCR 1.3 with 0.265

U/ml และ 0.302 U/ml, respectively. Optimization of enzyme production was investigated. The

use of 1.5% chitosan (w/v) as carbon source, 1.0 % yeast extract (w/v) as nitrogen source and

culturing for 5 days at pH 6.0 exhibited the highest activity 1.19 and 1.27 U/ml from isolates

TCM 1.2 and TCR 1.3, respectively. The crude enzymes were optimally active at pH 5.0 - 6.0

and 50?C. The products from chitosan hydrolysis with the crude enzymes were spitted to

chitooligosaccharides. Comparison of 16S rRNA sequences using two primers including 27F (5?-

AGAGTTTGATCMTGGCTCAG-3?) and 1522R (5?-AAGGAGGTGATCCAGCCGCA-3?) of these 2

bacterial isolates, showed that they are genera of Bacillus subtilis TCM 1.2 and Bacillus

tropicus TCR 1.3, respectively. The chitosanase producing bacteria obtained from two bacteria

isolates in this study could be applied for chitooligosaccharide production from several

sources.

Keyword : Bacteria, Chitosanase, Chitooligosaccharides, Optimization condition, 16S rRNA
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล ถิรบุญยานนท์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา แดงปรก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา คงจรูญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.จุฑามาศ มณีวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
275,300.00
   รวมจำนวนเงิน : 275,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 ตุลาคม 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : Process Biochemistry
ฉบับที่ : 145
หน้า : 243-249
ระดับการนำเสนอ : ระดับนานาชาติ
เจ้าของวารสาร : Elsevier
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023