รายละเอียดการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หน่วยงานที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ : ศูนย์ประสานงานอาสาสมัครพิทักษ์ยางนา
ระดับของหน่วยงาน : ระดับหน่วยงาน
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
วันที่ใช้ประโยชน์ : 9 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2569
สิ่งที่นำเอาไปใช้ประโยชน์จากตัวงานวิจัย :

- 1. ดูแลรักษา ป้องกัน และเฝ้าระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากต้นยางนาโค่นล้ม กิ่งหัก

- 2. วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยง แนวทางการจัดการดูแลรักษา และฟื้นฟูต้นยางนาที่รับผิดชอบ เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ ดูแลรักษา ในการลดความเสี่ยง

- ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อต้นยางนา และชุมชนโดยรอบต่อไป

- 3. การสื่อสารสาธารณะ สร้างความร่วมมือกับชุมชน องค์กรท้องถิ่น หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้อง ด้านข้อมูลสุขภาพ ความเสี่ยงของต้นยางนา เพื่อการบูรณาการด้านการบริหารจัดการ ดูแลรักษาต้นยางนา อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบัน ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจชุมชนยั่งยืน

-

ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย :

- เพื่อการอนุรักษ์ รักษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของเส้นทาง อัตลักษ์ชุมชน และแลนด์มาร์คทางภูมิทัศน์ของเส้นทางการท่องเที่ยว

ส่วนที่ 2 เจ้าของผลงานที่เกี่ยวข้องกับการนำไปใช้ประโยชน์
รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรจง สมบูรณ์ชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยหลัก
(2566)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรี เหมสันต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยร่วม
ส่วนที่ 3 เอกสาร/รูปภาพ ประกอบการนำเสนอ
ไม่มีข้อมูลรูปภาพปรพกอบการนำเสนองานวิจัย
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023