รายละเอียดการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หน่วยงานที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ : สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มห่วิทยาลัย
ระดับของหน่วยงาน : ระดับกรม
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
วันที่ใช้ประโยชน์ : 30 กันยายน 2564
สิ่งที่นำเอาไปใช้ประโยชน์จากตัวงานวิจัย :

- 1) ใช้ในการเรียนการสอนด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สำหรับนิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4

- หน่วยงาน สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- 2) โครงการการตรวจจับความผิดปกติในกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบบจมชั่วคราว โดยใช้

- เทคโนโลยี AI ภายใต้โครงการพัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้นด้านการเกษตรที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

- (AgTech.AI) ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA)

- 3) โครงการการพัฒนาปัจจัยการผลิตในการทำเกษตรปลอดภัยสำหรับไม้ดอกไม้ประดับ ภายใต้

- แผนงานวิจัย การเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้กับชุมชนกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับด้วยนวัตกรรม

- การเกษตร ด้วยแนวทางมาลัยวิทยสถาน อว. ได้รับการสนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการ

- วิจัยแห่งชาติ (วช.)

- 4) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

- สยามบรมราชกุมารี องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน

ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย :
ส่วนที่ 2 เจ้าของผลงานที่เกี่ยวข้องกับการนำไปใช้ประโยชน์
รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.พูนพัฒน์ พูนน้อย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
อาจารย์นนท์ ปิ่นเงิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
ส่วนที่ 3 เอกสาร/รูปภาพ ประกอบการนำเสนอ
ไม่มีข้อมูลรูปภาพปรพกอบการนำเสนองานวิจัย
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023