23086 : SAS-68 โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นนท์ น้าประทานสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/2/2568 10:12:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/02/2568  ถึง  07/06/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  18  คน
รายละเอียด  อาจารย์วิทยาลัยบริหารศาสตร์ จำนวน 18 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ปี 2568 2568 1,038,734.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นนท์  น้าประทานสุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.5 มีการบริหารจัดการองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนงบประมาณที่เหมาะสม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-68 (6) พัฒนาระบบบริหารและการจัดการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ตามแนวทางการบริหารภาครัฐแนวใหม่
เป้าประสงค์ SAS 68 (4.2) บุคลากรมีศักยภาพตอบสนองการบรรลุวิสัยทัศน์
ตัวชี้วัด SAS 68 ร้อยละของบุคลากรที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
กลยุทธ์ SAS สนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และขอตำแหน่งทางวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นที่ Learning Outcomes เป็นมาตรฐานคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต โดยมีกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาเป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ทั้งในระดับชาติและระดับสากล Iรวมไปถึงนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มุ่งเน้นทางด้านความเป็นนานาชาติ ในประเด็นยุทธศาสตร์ (Intelligent Well-being Agriculture (IWA) วิทยาลัยบริหารศาสตร์จึง จำเป็นอย่างเร่งด่วนเพื่อที่จะพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานการศึกษาและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย เพื่อที่นักศึกษาจะสามารถเชื่อมโยงระหว่างนานาชาติไปยังท้องถิ่นได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ได้วางกลยุทธ์ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านวิชาการ คุณธรรมและจริยธรรม โดยสอดแทรกความรู้วิชาการที่หลากหลาย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม คุณธรรมและจริยธรรม สนับสนุนให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ จากตัวอย่าง กรณีศึกษา การฝึกอบรม การลงพื้นที่ปฏิบัติ และการศึกษาดูงาน ในเรื่องที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประเด็นทางสังคม เช่น การบริหารองค์กร ความโปร่งใสและมี ธรรมาภิบาล การพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา และเพื่อเป็นการยกระดับการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ โดยคำนึงถึงความหลากหลายในมิติต่าง ๆ ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว วิทยาลัยพิจารณาแล้วเห็นว่าประเทศญี่ปุ่น ถือว่าเป็นประเทศที่มีศักยภาพในด้านการเรียน การสอน และการวิจัย เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งสร้างความสัมพันธ์ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและวิชาการให้เท่าเทียมกับนานาประเทศ รวมไปถึง การศึกษา และฝึกอบรม เพื่อพัฒนาเทคนิคและเครื่องมือด้านการบริหาร การจัดการ ในบริบทชุมชนที่แตกต่าง ที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม ประเพณี และการเมือง โดยเฉพาะการวิจัยในระดับท้องถิ่น เพื่อที่จะได้นำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปพัฒนางานวิจัย ให้กับคณาจารย์ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ประกอบกับ Hachinohe Gakuin University ประเทศญี่ปุ่น ได้เรียนเชิญคณาจารย์วิทยาลัยบริหารศาสตร์ เข้าร่วมการฝึกอบรมในหัวข้อ research in Japan และ comparative on local government and administrative in Japan and Thailand พร้อมศึกษาการบริหารและจัดการองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ที่แตกต่างจากประเทศไทยและญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม 2568 ณ Faculty of Regional Management Hachinohe Gakuin เมืองอาโอโมริ ประเทศญี่ปุ่น นั้น ดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ ในสภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และประเพณี ที่แตกต่างจากประเทศไทย ประกอบกับการสร้างความสัมพันธ์และเครื่องข่ายในด้านความร่วมมือทางวิชาการและวิจัยกับสถานบันระดับนานาชาติตลอดจนหน่วยงานไทยในต่างประเทศ พร้อมทั้ง พัฒนาโจทย์วิจัย และสร้างความร่วมมือทางวิชาการ จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ ระหว่างวันที่ 18-23พฤษภาคม 2568 จำนวน 6 วัน ณ ประเทศญี่ปุ่น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ
2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์และเครือข่ายความร่วมมือทางวิจัยและวิชาการกับสถานบันระดับนานาชาติตลอดจนหน่วยงานของไทยในต่างประเทศ
3. เพื่อการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษาด้าน การวิจัยและการสอน แก่นักศึกษาในวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการองค์การด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคมสู่ความเป็นนานาชาติ
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมและแลกแลกเปลี่ยนความรู้การบริหารจัดการองค์การด้านการวิจัยและบริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 18/05/2568 - 23/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นนท์  น้าประทานสุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักต่างประเทศ 17 คน จำนวน 5 คืน คนละ 9,630 เป็นจำนวนเงิน 163,710 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 163,710.00 บาท 0.00 บาท 163,710.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะเดินทางเครื่องบิน 17 คน เชียงใหม่-กรุงเทพมหานคร-ญี่ปุ่น เดินทางวันที่ 18-23 พ.ค. 2568 คนละ 44,400 เป็นจำนวน 754,800 บาท
ค่าเดินทางต่างประเทศ คนละ 1,462 บาท รวมเป็นจำนวน 24,854 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 779,654.00 บาท 0.00 บาท 779,654.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร 17คน มื้อละ 935 บาท จำนวน 6 มื้อ รวมเป็นจำนวนเงิน 95,370 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 95,370.00 บาท 0.00 บาท 95,370.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1038734.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การสอนในหลักสูตรรัฐศาสตร์ระดับปริญญาตรี (IR)
ช่วงเวลา : 07/01/2569 - 31/03/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
The Role of Thai Local Authorities on Reginal Cooperation in the MeKong Region
ช่วงเวลา : 07/01/2569 - 31/03/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล