22607 : โครงการ จัดหารายได้และจัดทำ Google Earth ที่ราษฎร์ หมู่1 หมู่5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ตรีชฎา สุวรรณโน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2567 15:49:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2567  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  142  คน
รายละเอียด  ราษฎรที่เช่า พื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 5 จำนวน 142 ราย 157 แปลง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ตรีชฎา  สุวรรณโน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านกฏระเบียบ ข้อบังคับ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.4 เพิ่มรายได้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 5.1.2.1 เพิ่มรายได้กับหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจัดตั้งหน่วยงาน ภายใต้ชื่อ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพรโดยประกาศสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลงวันที่ 21 มีนาคม 2547 มีฐานะเทียบเท่าส่วนราชการระดับคณะและให้จัดการเรียนการสอนเป็นแบบวิทยาเขต โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา วิจัย บริการทางวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภายในขอบเขตและศักยภาพของสถาบันการศึกษาของรัฐไปยังพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ณ ชายฝั่งทะเล ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร ซึ่งได้รับการสนับสนุนและจัดหาโดย อดีตรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร (นายประมวล กุลมาตย์) ประกอบกับความต้องการของชาวชุมพร ที่อยากให้มีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ได้ดำเนินการภายใต้พันธกิจของมหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปัจจุบัน ได้ผลิตบัณฑิตรุ่นแรก ได้สำเร็จในปีการศึกษา 2545 และขยายการศึกษาเพิ่มเป็น 4 หลักสูตร ในระยะแรกของการจัดตั้งให้ดำเนินงานเป็นศูนย์ไร่ฝึกนักศึกษาและการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกงานของนักศึกษาในการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น และงานวิจัยทางการเกษตรของท้องถิ่น วันที่ 29 ตุลาคม 2543 ได้มีประกาศสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องการแบ่งหน่วยงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นการภายใน โดยให้แบ่งหน่วยงานในสำนักงานอธิการบดี เพิ่มเติมเป็นการภายใน ได้แก่ โครงการจัดตั้งสำนักสหวิชาการละแม และให้มีงานเลขานุการในโครงการจัดตั้งสำนักสหวิชาการละแม เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2546 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้รับหนังสือจากสำนักงานธนารักษ์พื้นที่ฝ่ายจัดประโยชน์ ตามหนังสือที่ กค 0309.68/22732 โดยได้รับรายการที่ดินตามกระทรวง ฉบับที่ 1201 (พ.ศ.2530 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 เพิกถอนป่าไม้เคี่ยมจังหวัดชุมพรประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104 ตอนที่ 97 วันที่ 26 พฤษภาคม 2530 เพื่อจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้วิทยาเขตชุมพร (โครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร) จำนวน 6 แปลง รวมเนื้อที่ประมาณ 2005-3-45 ไร่ ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้เป็นแปลงหมายเลขทะเบียนสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ของโครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของโครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้เสนอขอจัดตั้งเป็น “สำนักสหวิชาการ” ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) ต่อทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุมัติให้จัดตั้ง “สำนักสหวิชาการ” เป็นการภายใน วันที่ 21 มีนาคม 2547 สภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2547 พิจารณาเห็นสมควรให้สำนักสหวิชาการละแม จังหวัดชุมพร มีฐานะเทียบเท่าส่วนราชการระดับคณะ และให้จัดการเรียนการสอนเป็นแบบวิทยาเขต โดยเห็นชอบให้ใช้ชื่อ “โครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร” เป็นหน่วยงานภายในมีฐานะเป็นส่วนราชการระดับคณะ และให้จัดการบริหารงานเป็นแบบวิทยาเขต เพื่อสนองวัตถุประสงค์ของโครงการ อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาท้องถิ่นภาคใต้ตอนบน ซึ่งจะมีการดำเนินการให้เป็นไปตามมติดังกล่าวต่อไป มติที่ประชุมกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 16/2549 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2549 ได้มีมติให้ตัดคำว่า “โครงการ” นำหน้าชื่อหน่วยงานออกคือ โครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้ใช้เป็น “มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -ชุมพร” ในปี พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -ชุมพร ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานในการสำรวจพื้นที่ราษฎร์ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 5 และ มีการจัดทำสัญญาผู้เช่าที่เป็นผู้ครอบครองปัจจุบัน และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าเช่าเพื่อจัดทำสัญญาให้สอดคล้องกับค่าเช่าของกรมธนารักษ์ต่อไป ในปีงบประมาณ 2567 โดยมีพื้นที่ 310 ไร่ 2 งาน 275 ตารางวา คิดอัตราค่าเช่า ไร่ละ 10 บาท และในปี 2570 คาดว่าจะมีรายได้ประมาณ 300,000 บาท และมีการจัดทำ Google earth พิกัดผู้เช่าเพื่อให้สอดคล้องกับการทำสัญญาเช่า

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อบริหารทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
2 เพื่อสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย
3 เพื่อป้องกันการบุกรุกเพิ่มจากราษฎร
4 เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนพื้นที่ใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัย
5 เพื่อให้ได้พิกัดแผนที่ผู้เช่า หมู่ 1 และหมู่5
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แผนที่พิกัดจำนวนแปลงที่จัดทำสัญญา 15 กย. 2566-30 กย.2568
KPI 1 : รายได้ค่าเช่า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3100 บาท 3100
KPI 2 : จำนวนแปลงที่ทำสัญญา (142 ราย)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
142 คน 142
KPI 3 : แผนที่พิกัดจาก google erath
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แผนที่พิกัดจำนวนแปลงที่จัดทำสัญญา 15 กย. 2566-30 กย.2568
ชื่อกิจกรรม :
จัดทำพิกัด Google earth ผู้เช่า และจัดทำสัญญาค่าเช่าที่ราษฎร์ หมู่ 1 หมู่ 5

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ตรีชฎา  สุวรรณโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จิรภรณ์  ใจอ่อน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางชไมพร  ตันสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุวินัย  เลาวิลาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชาญวิทย์  ขุนทองจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอรรถพล  ปราบเสร็จ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายณพพล  วิเชียร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพรลภัส  พงษ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวันชัย  ล่องอำไพ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กันยารัตน์  เมืองรักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชุมพล  อังคณานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ฉัตรนลิน  แก้วสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล