22507 : โครงการพัฒนาแผนธุรกิจและสื่อสารการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์จากของเหลือทางการเกษตร (โกโก้)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิริยะ กาญจนคงคา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/11/2567 10:30:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2568  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร/ชุมชนในพื้นที่ เทศบาลตำบลร้องวัวแดง อ.สันกำแพง 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิริยะ  กาญจนคงคา
อาจารย์ อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย
น.ส. อุรัชชา  สุวพานิช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68Info-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC) (ด้านบริการวิชาการ)
เป้าประสงค์ 68Info-2.5 บริการวิชาการและชี้นำแนวทางต่อการพัฒนาสังคม
ตัวชี้วัด 68Info-2.11 จำนวนเงินวิจัยด้านสังคมศาสตร์
กลยุทธ์ 68Info-2.5.1 คณะฯ ให้บริการวิชาการและถ่ายทอดผลงานตามความเชี่ยวชาญที่มีประสิทธิภาพโดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางด้านสื่อดิจิทัลและส่งเสริมให้บุคลากรของคณะมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ในกิจกรรมของชุมชนที่มีการใช้สารสนเทศและการสื่อสาร เป็นกลไกในการพัฒนาชุมชนสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หนึ่งในปัจจัยที่ทำให้การปลูกโกโก้กลับมาได้รับความสนใจในประเทศไทย คือการส่งเสริมจากโครงการพระราชดำริด้านการเกษตรของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงและการสร้างความมั่นคงด้านการเกษตรในชุมชน โครงการพระราชดำริได้สนับสนุนการปลูกพืชทางเลือกที่สามารถปลูกควบคู่ไปกับพืชหลัก เช่น โกโก้ โดยเป็นพืชที่ไม่ต้องการการดูแลที่ซับซ้อนและสามารถปลูกได้ในหลากหลายภูมิภาคของประเทศ นอกจากนี้ การสนับสนุนการแปรรูปผลผลิตในท้องถิ่นยังสอดคล้องกับแนวทางการเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตเกษตรกร ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน โกโก้เป็นพืชที่กลับมาได้รับความนิยมและมีการปลูกเพิ่มขึ้นในประเทศไทย และมีเกษตรกรให้ความสนใจปลูกโกโก้มากขึ้น ด้วยหวังว่าจะเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้เสริมจากพืชหลัก จากข้อมูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร เนื้อที่ยืนต้นเพิ่มขึ้นจาก 251 ไร่ ในปี 2560 เป็น 5,912.75 ไร่ ในปี 2563 ส่วนเนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้นจาก 36 ไร่ ในปี 2560 เป็น 401.5 ไร่ ในปี 2563 และมีจำนวนครัวเรือนเกษตรกร 1,361 ราย แต่ปริมาณผลผลิตยังไม่มากนัก ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตโกโก้ในปัจจุบันยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ (สถาบันพืชสวน กรมวิชาการเกษตร, 2564, หน้า 3 – 4 ) อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอีกหนึ่งพื้นที่เกษตรกรให้ความสนใจปลูกต้นโกโก้เสริมจากพืชหลัก โดยมีพื้นที่ปลูกมากกว่า 23 ไร่ ทั้งนี้ เกษตรกรได้มีการรวมกลุ่มก่อตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจชุมชน และดำเนินการแปรรูปผลผลิตโกโก้ในครัวเรือนอีกด้วย จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบว่า ผลิตภัณฑ์โกโก้ของอำเภอสันกำแพงยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ประกอบกับในกระบวนการแปรรูปโกโก้เกิดผลพลอยได้จากการแปรรูปที่มีคุณค่าและสามารถนำไปสร้างผลผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาแผนธุรกิจ (Business Model) การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได?จากการแปรรูปโกโก้ (ของเหลือทางการเกษตร) และ การสื่อสารการตลาดให้กับเกษตรกรในพื้นที่เพื่อเพิ่มรายได้และยกระดับความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ หรือ ผลิตภัณฑ์อื่นในชุมชนได้
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
45000 บาท 45000
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ (ผู้ร่วมอบรม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ต้นแบบบรรจุภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
KPI 7 : รายได้ที่ได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ หรือ ผลิตภัณฑ์อื่นในชุมชนได้
ชื่อกิจกรรม :
โครงการพัฒนาแผนธุรกิจและสื่อสารการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์จากของเหลือทางการเกษตร (โกโก้)
ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิริยะ  กาญจนคงคา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อุรัชชา  สุวพานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) (หลักสูตรละ 1 วัน)
จำนวน 40 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน 2 หัวข้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) (หลักสูตรละ 1 วัน)
จำนวน 40 คน ๆ ละ 40 บาท 2 มื้อ 1 วัน 2 หัวข้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง (วิทยากรและทีมงาน) (ระยะทางไปกลับ ม.แม่โจ้ – เทศบาลตำบลร้องวัวแดง อ.สันกำแพง 120 กิโลเมตร)
จำนวน 2 คัน x 120 กิโลเมตร x 4 บาท x 2 วัน x 2 หัวข้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,840.00 บาท 0.00 บาท 3,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ (หลักสูตรละ 6 ชม.)
จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 2 คน 2 หัวข้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยงาน 2 คนๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 วัน 2 หัวข้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,760.00 บาท 0.00 บาท 2,760.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เรียนรู้เป็นกลุ่มคนหลาย Gen ความแตกต่างระหว่างวัยของผู้เรียนรู้อาจจะส่งผลกับการเรียนรู้ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
สร้างวิทยากรในชุมชนจากคนรุ่นใหม่ เพื่อนำไปสู่การต่อยอดการถ่ายทอดในพื้นที่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ได้แก่ การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน (โดยขอให้ระบุรายวิชา ตาม มคอ. และระบุจำนวนคน) 1. รายวิชา 10801273 การออกแบบกราฟิกเพื่อธุรกิจ 2. รายวิชา สด383 นวัตกรรมสื่อดิจิทัล
ช่วงเวลา : 01/01/2568 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล