22477 : โครงการฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ “การทำยาดมส้มโอมือสูตรโบราณ” ให้แก่ผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/11/2567 11:44:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้สูงอายุ 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริกาวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร  คำยอด
อาจารย์ ดร. ลักขณา  ชาปู่
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA68 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA68-2.7 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต ของท้องถิ่นชุมชนที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด LA68-2.6.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ LA68-2.6.1.ผลักดันและส่งเสริมให้การบุคลากรแสวงหางบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี รวมทั้งด้านประชากรที่พบแนวโน้มของการเข้าสู่โลกแห่งผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ วัยตอนต้นประมาณ ร้อยละ 5 อาจมีปัญหาสุขภาพซึ่งพบการเจ็บป่วย และเมื่อเขาสู่ระยะผู้สูงอายุตอนปลายจะมีปัญหาด้านสุขภาพที่ต้องการการพึ่งพามากขึ้น อันเนื่องจากการความเสื่อมถอยด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดบริการสุขภาพ ค่าใชจ่ายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเจ็บป่วยเรื้อรัง จากสถานการดังกล่าวจําเป็นที่จะต้องหาแนวทางในการสร้างเสริมสมรรถนะของผู้สูงอายุในภาคการเกษตร การชะลอความเสื่อมถอยจากการสูงวัย โดยเฉพาะความเสื่อมถอยดานจิตใจและสังคม ส้มโอมือหรือส้มมือ (Buddha Fingers) เป็นผลไม้ตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละประเทศ ชาวเอเชียนำส้มโอมือ เนื่องจากผิวของส้มโอมือจะมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งคนไทยนิยมนำมาเป็นส่วนประกอบในการทำยาดม ใช้ดมแก้หวัด ช่วยการไหลเวียนโลหิต แก้วิงเวียนได้ ทั้งนี้ผู้เสนอโครงการได้ทดลองปรับปรุงสูตรยาดมส้มโอมือให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคโดยพัฒนาสูตรมาจากตำรับเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ผู้คิดยาดมส้มโอมือ ตำรับวังสวนสุนันทา โครงการฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ“การทำยาดมส้มโอมือสูตรโบราณ” เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนพัฒนาขึ้นการฐานคิดทางด้านวัฒนธรรมที่ยึดโยงกับสมุนไพรที่อยู่คู่สังคมไทยนั่นคือยาดมส้มโอมือ อีกทั้งยังเป็นการจรรโลงไว้ซึ่งความเป็นไทยแล้วยังสามารถนำมาพัฒนาเป็นอาชีพ จึงได้เป็นที่มาของหลักสูตรพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในภาคการเกษตร อีกทั้งเพื่อสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพให้กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนเขตอำเภอสันกำแพง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะ ในการเป็นผู้ประกอบการทางด้านสมุนไพรโดยต่อยอดจากทักษะเดิม ในรูปแบบของการอบรมจากวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้านยาดมส้มโอมือ และด้านการตลาด อาศัยกลไกของประชารัฐในการผลักดันให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อสร้างรายได้ และลดภาระของประชากรวัยแรงงานที่ต้องดูแลผู้สูงอายุ อีกทั้งเป็นการสร้างบรรยากาศเรียนรู้ในชุมชน ตามแนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองของเกษตรกรที่สามารถแก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริง ตลอดจนมุ่งไปสู่วิถีแห่งการพัฒนายั่งยืน (Sustainability)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพให้แก่คนในชุมชน
เพื่อให้ชุมชนได้ร่วมกิจกรรมกลุ่มเกิดผลผลิต และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตยาดมส้มโอมือสูตรโบราณและสามารถผลิตชิ้นงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ (2 ครั้ง ครั้งละ 25 คน เฉพาะผู้เข้าร่วมอบรมเท่านั้น)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0297 0.0153 ล้านบาท 0.045
KPI 4 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 5 : ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจวิธีการเพิ่มขึ้นจากการผลิตภัณฑ์ยาดม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตยาดมส้มโอมือสูตรโบราณและสามารถผลิตชิ้นงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมการทำยาดมส้มโอมือสูตรโบราณ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร  คำยอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ลักขณา  ชาปู่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 30 คน ๆ ละ 40 บาท 2 มื้อ 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 4 คน 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว (ได้แก่ กล่องบรรจุภัณฑ์ยาดมส้มโอมือ น้ำมันหอมระเหย หลอดยาดมส้มโอมือ ยามหอมตรา 5 เจดีย์ พิมเสนธรรมชาติ พิมเสนสังเคราะห์ เมนทอล น้ำดอกไม้เทศ ผ้าก๊อซ และด้าย)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล