21050 : การส่งเสริมพัฒนาอาชีพสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/12/2566 14:44:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/01/2567  ถึง  31/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา /กลุ่มอาชีพเกษตรกร ผู้ที่สนใจ ในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รวมจำนวนทั้งสิ้น 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร. นัยนา  โปธาวงค์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.1 สอบถามความต้องการของชุมชนเป้าหมายเพื่อบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ถึงแม้จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ที่ผ่านมาส่งผลต่อการกระทบต่อปัญหาด้านเศรษฐกิจในทุกระดับ อีกทั้งส่งผลกระทบสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นในทุกภาคส่วนจึงมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริม สนับสนุนธุรกิจชุมชนในการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการในชุมชนเพื่อให้มีการยกระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจกันมากยิ่งขึ้น เพื่อดำเนินการที่สอดคล้องกับนโยบายความมั่นคงทางอาหาร โดยรัฐบาลให้ความสำคัญ และสนับสนุนในการส่งเสริมพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในทั่วทุกพื้นที่สู่การเป็นกลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็งมากขึ้น เนื่องจากมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในด้านการสร้างงานสร้างอาชีพ เพื่อเพิ่มศักยภาพขีดความในการแข่งขัน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในอนาคต อีกทั้งรัฐบาลมองเห็นแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) จึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจัดตั้งขึ้น ภายใต้พระราชบัญญัติวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543 ในฐานะหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่สำหรับเสนอแนะส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งเป็นศูนย์กลางประสานระบบการทำงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมีความสอดคล้องกันละดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน จากการลงพื้นที่เพื่อสำรวจปัญหาและความต้องการในการแก้ปัญหาของชุมชน ในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปาขาดความต่อเนื่องและทักษะการพัฒนาอาชีพในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมชุมชนสู่การสร้างรายได้เชิงพาณิชย์อย่างยั่งยืน รวมทั้งขาดความต่อเนื่องในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต และการพัฒนาทักษะอาชีพเสริมแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการสร้างงาน สร้างอาชีพ ส่งผลต่อความเข้มแข็งของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ ดังนั้นเห็นควรมีการจัดโครงการบริการวิชาการขึ้นเพื่ออบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร/กลุ่มอาชีพในชุมชน โดยจัดโครงการการยกระดับความเข็มแข็งของกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีการเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชนที่สอดคล้องต่อความต้องการของเกษตรกร/สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาธุรกิจของชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งที่มุ่งในการยกระดับรายได้ชีวิตความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนต้นแบบพึ่งตนเองได้โดยผ่านโครงการ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาทักษะอาชีพของสู่การยกระดับเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์น้ำพริกหมูฝอยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย หวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถดำเนินการได้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัตถุดิบภายในท้องถิ่น นำมาแปรรูปอาหารจากเกษตรกรในชุมชนที่มีเวลาว่างจาการทำการเกษตร ส่งเสริมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตภัณฑ์น้ำพริกหมูฝอยเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมชุมชนสู่การสร้างรายได้เชิงพาณิชย์โดยมีการจัดการจากคนในชุมชน โดยคนในชุมชนสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนช่วยกันวางแผนและตั้งเป้าหมายในแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ทั้งนี้ยังเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งในภาคชนบทและภาคีเครือข่ายอีกด้วย ดังนั้น โครงการบริการวิชาการภายใต้การขับเคลื่อนงานบริการวิชาการสู่ชุมชน (Sansai Development Model) โดยการส่งเสริมพัฒนาอาชีพสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อส่งเสริมโดยการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากสู่การสร้างรายได้อย่างยั่งยืน แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สามารถแก้ไขปัญหาความความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม สามารถแก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่ อีกทั้งสามารถขจัดความหิวโหยผู้บริโภคสามารถเข้าถึงแหล่งอาหารได้ง่ายขึ้นซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดความมั่นคงทางอาหาร (Food security) เกิดการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ สู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อีกทั้งชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) ด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy) โดยการประยุกต์ใช้โมเดลเศรษฐกิจใหม่ (BCG) ส่งผลทำให้ชุมชนเกิดความสามัคคีมีความเข้มแข็งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) ในอนาคต ความต้องการของชุมชน หรือพื้นที่ที่รับผิดชอบ: ความต้องการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา ดังนี้ 1) องค์ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต และการพัฒนาทักษะอาชีพเสริมแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา 2) การสร้างโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันทางการตลาดปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากสู่การสร้างรายได้อย่างยั่งยืนแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา แนวทางการวางแผนการสร้างโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas) การใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้แก่ ปัจจัยการผลิต ปัจจัยด้านการแปรรูป ปัจจัยด้านการตลาด ปัจจัยด้านการบุคลากรการบริหารจัดการกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจชุมชน การวางแผนธุรกิจชุมชน รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมพัฒนาด้านการตลาดบนแพลตฟอร์มออนไลน์และออฟไลน์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมพัฒนาอาชีพแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากสู่การสร้างรายได้อย่างยั่งยืนแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา /กลุ่มอาชีพเกษตรกร ผู้ที่สนใจ พัฒนาทักษะอาชีพแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจวิสาหกิจชุมชน
KPI 1 : จำนวนเครือข่ายความร่วมมือ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เครือข่าย 2
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : องค์ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะอาชีพแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 5 : จำนวนรายวิชาที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน นำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 รายวิชา 3
KPI 6 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 7 : ต้นแบบผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 8 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ต้นแบบโมเดลทางธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 11 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา /กลุ่มอาชีพเกษตรกร ผู้ที่สนใจ พัฒนาทักษะอาชีพแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจวิสาหกิจชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะอาชีพแก่สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจวิสาหกิจชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/03/2567 - 31/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน
(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 7,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 2 วัน เป็นเงิน 9,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 5,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD ฯลฯ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 33000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรมชุมชนฐานรากสู่การสร้างรายได้อย่างยั่งยืนแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตกรรมและแปรรูปตำบลสันป่าเปา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/07/2567 - 14/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2,450 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,450.00 บาท 2,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาคเอกชน) (ภาคบรรยาย จำนวน 8 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสาร (จำนวน 2,900 หน้า* 0.5 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,450.00 บาท 1,450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาโควิด-19 อาจยังส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายมีความกังวลในการร่วมกลุ่ม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมตามมาตรการการเฝ้าระวังของกระทรวงสาธารสุขอย่างเคร่งครัด
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล