20981 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเชิงบูรณาการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถสำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่าในยุควิถีชีวิตใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์ เครือคำ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  270  คน
รายละเอียด  1) ประชาชนผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอสันทราย อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกร และผู้เกี่ยวข้องในเขตอำเภอสันทรายและอำเภอแม่ริม 3) กลุ่มยุวเกษตรกร เกษตรกร และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4) บุคคลากร และนักศึกษาจากคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ ปีงบประมาณ 2567 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
นาย ปรีชา  รัตนัง
อาจารย์ ดร. ประนอม  ยังคำมั่น
อาจารย์ ดร. วงค์พันธ์  พรหมวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยะ  พละปัญญา
น.ส. เบ็ญจา  บำรุงเมือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.3 จำนวนครั้งของการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.3.2 พัฒนาระบบและกลไกในการติดตาม ผลักดัน การจัดทำฐานข้อมูลการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.2.1 ขับเคลื่อนการสำรวจผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมายจากการให้บริการวิชาการและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาคเกษตรได้รับการยกย่องว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยนับตั่งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการเป็นอาชีพหลัก และแหล่งรายได้สำหรับประชาชนในเขตชนบทแต่ละภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ในอีกมิติหนึ่งภาคการเกษตรยังเป็นภาคการผลิตที่ต้องใช้แรงงานจำนวนมาก และเป็นส่วนสำคัญในขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ-สังคมของประเทศ อย่างไรก็ตามวิฤตการณ์ขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร ซึ่งเนื่องมาจากสาเหตุการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของเกษตรกร และการขาดความสนใจหรือไม่ปรารถนาที่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมของทายาทเกษตรกร หรือเยาวชน คนรุ่นใหม่ที่ส่วนใหญ่มีแนวโน้มเข้าสู่สายงานภาคอุตสาหกรรมและการบริการ จนนำไปสู่การเป็นปัญหาท้าทายใหม่ที่ควรให้ความสำคัญ และมากไปกว่านั้น การประสบปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 นับตั้งแต่ต้นปี 2563 ยังได้ตอกย้ำวิฤตการณ์ด้านการเกษตรของประเทศที่กล่าวมาข้างต้น รวมถึงปัญหาที่เผชิญมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ การขาดแหล่งตลาดที่รับซื้อผลผลิตที่มีความชัดเจน รวมถึงการประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติอื่น ๆ เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย หรือการระบาดของศัตรู เป็นต้น ซึ่งได้สร้างความสั่นคลอนแก่โครงสร้างทางเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยจนนำไปสู่การตดสินใจเลือกการประกอบอาชีพนอกภาคเกษตร หรืออาจนำไปสู่การมีภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น ประกอบกับการขาดความสามารถใชการชำระหนี้ เนื่องจากลดลงของรายได้ทั้งในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร และที่สำคัญปัญหาสถานการณ์โควิด 19 ยังนำมาซึ่งปัญหาการพักงาน หรือการถูกเลิกจ้างจากภาคอุสาหกรรมและการบริการต่าง ๆ ส่งผลให้ประชาชนจำนวนหนึ่งต้องกลับสู่ภูมิลำเนาเดิม ในปัจจุบันวิกฤติการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ได้ลดระดับความรุนแรง ประชาในประเทศกำลังอยู่ในช่วงฟื้นฟูและปรับตนเองให้เข้าสู่การดำเนินชีวิตในสภาพปกติ ดังนั้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในภาคการเกษตร ตลอดจนเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการรับมือกับวิกฤตการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงควรมีการส่งเสริมความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีการเกษตรต่าง ๆ ให้เกษตรกรสามารถนำมาปรับใช้เพื่อยกระดับการผลิต สร้างคุณค่า ตลอดจนการเข้าถึงตลาดของเกษตรกร เพื่อยกระดับชุมชนที่มีการเกษตรเป็นรากฐานให้เกิดความเข้มแข็งขึ้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นสถาบันทางการศึกษาที่มีปรัชญาคือ “การมุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรืองวัฒนาของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน” โดยมีหนึ่งในพันธกิจที่สำคัญ คือ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการเกษตร และวิทยาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม” โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้มีคณะผลิตกรรมการเกษตรที่จะเป็นส่วนสำคัญในการสนับสนุน และขับเคลื่อนวิสัยทัศน์และพันธกิจดังกล่าวให้บรรลุผลสำเร็จภายใต้การบูรณาการความร่วมมือทางวิชาการของบุคลากรของแต่ละหลักสูตร เพื่อถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตรสู่การพัฒนาชุมชน และการพัฒนาทักษะอาชีพแก่ประชาชน ตลอดจนเป็นการสร้างฐานการสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ หรือแหล่งแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีมูลค่าสูง ที่มีการหนุนเสริมด้านการตลาดโดยคณะผลิตกรรมการเกษตร โดยในปัจจุบันคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้กำหนดให้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่เป้าหมายในการบริการวิชาการ โดยอำเภอสันทรายเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเป็นย่านชุมชนขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชาชนส่วนใหญ่โดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ยังคงยึดเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก โดยการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้ลดลง และปริมาณการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรมีปริมาณลดลง ตลอดจนประชาชนบางส่วนได้ประสบปัญหาการว่างงาน รวมถึงการประสบกับปัญหาการมีรายได้ไม่เพียงพอในการดำเนินชีวิต ตลอดจนปัญหาทางสังคมอื่น ๆ โดยเฉพาะปัญหาการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ หรือการขยายตัวของเมืองที่กระทบต่อวิถีชีวิตเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพเดิมของประชาชนโดยส่วนใหญ่ ซึ่งจากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นการสนับสนุนองค์ความรู้ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพด้านการเกษตรแก่ประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการทำการเกษตรแก่เกษตรกรเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการสร้างคุณภาพชีวิต การฟื้นคืนกลับสู่สภาพเดิมมั่นคง และการใช้ชีวิตในยุควิถีใหม่อย่างยั่งยืน โดย “โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเชิงบูรณาการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถสำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมตลอดห่วงโซ่คุณในยุควิถีชีวิตใหม่” เป็นโครงการที่มีจุดมุ่งหมายในการนำองค์ความรู้จากบุคคลากรแต่ละหลักสูตรภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตรมาเผยแพร่เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพด้านการเกษตรแก่เกษตรกรและประชาชนที่สนใจในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ตลอดห่วงโซ่คุณค่าการผลิตทางการเกษตร โดยเริ่มตั้งแต่การยกระดับศักยภาพการผลิตพืชอาหารภายใต้ระบบเกษตรปลอดภัย การเพิ่มขีดความสามารถในการแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าสูง ไปจนถึงการสร้างเครือข่ายด้านการตลาดสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการจะสามารถหนุนเสริมให้เกษตรกร และประชาชนเกิดสามารถพึ่งพาตนเองในดำเนินชีวิตได้ ตลอดจนสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมได้อย่างสมดุลตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคล้องกับโครงการพระราชดำริด้านการพัฒนาการเกษตร ตลอดจนยังเป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติใน 4 เป้าหมาย ได้แก่ SDG1: ขจัดความยากจน SDG 2: ขจัดความหิวโหย SDG 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน และ SDG 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยกลุม 2 ที่มุ่งสร้างความเป็นเลิศทางการเกษตร และการร่วมผลักดันการพัฒนามหาวิทยาลัยใหเป็น University of Life อย่างเป็นรูปธรรม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1) เพื่อยกระดับศักยภาพการการผลิตพืชอาหารในระบบเกษตรปลอดภัย
2) เพื่อส่งเสริมทักษะการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์ของชุมชน
3) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพสูง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1.หลักสูตรด้านการเกษตร ได้แก่ หลักสูตรการผลิตพืชผักปลอดภัยแบบครบวงจร หลักสูตรปลูกไม้ดอกเพื่อการบริโภค หลักสูตรการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ หลักสูตรการแปรรูปแมลงกินได้ หลักสูตรการแปรรูปเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน หลักสูตรการถ่ายภาพผลิตผลทางการเกษตรเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ หลักสูตรการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร และหลักสูตรการสร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ 2.เทคนิค/นวัตกรรม ด้านผลิต และแปรรูปสินค้าเกษตร ได้แก่ การผลิตพืชผักปลอดภัยแบบครบวงจร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ การแปรรูปแมลงกินได้ และการแปรรูปเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน 3.คุณภาพผลผลิต/ผลิตภัณฑ์/สินค้า ผักปลอดภัย เห็ดเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ ผลิตภัณฑ์แมลงกินได้ และเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน 4. พัฒนาการเรียน บูรณาการกับงานบริการวิชาการ
KPI 1 : จำนวนเครือข่ายการตลาดสินค้าเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
6 เครือข่าย 6
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
270 คน 270
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ชิ้น 3
KPI 7 : จำนวนบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ชนิด 3
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.33 ล้านบาท 0.33
KPI 9 : บูรณาการเรียนการสอน วิจัย และบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 รายวิชา 3
KPI 10 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจาการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1.หลักสูตรด้านการเกษตร ได้แก่ หลักสูตรการผลิตพืชผักปลอดภัยแบบครบวงจร หลักสูตรปลูกไม้ดอกเพื่อการบริโภค หลักสูตรการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ หลักสูตรการแปรรูปแมลงกินได้ หลักสูตรการแปรรูปเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน หลักสูตรการถ่ายภาพผลิตผลทางการเกษตรเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ หลักสูตรการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร และหลักสูตรการสร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ 2.เทคนิค/นวัตกรรม ด้านผลิต และแปรรูปสินค้าเกษตร ได้แก่ การผลิตพืชผักปลอดภัยแบบครบวงจร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ การแปรรูปแมลงกินได้ และการแปรรูปเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน 3.คุณภาพผลผลิต/ผลิตภัณฑ์/สินค้า ผักปลอดภัย เห็ดเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้ ผลิตภัณฑ์แมลงกินได้ และเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน 4. พัฒนาการเรียน บูรณาการกับงานบริการวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การฝึกอบรมการผลิตพืชผักปลอดภัยแบบครบวงจร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ย วัสดุปลูก เมล็ดพันธุ์ ถาดเพาะ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 17,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การฝึกอบรมการปลูกไม้ดอกเพื่อการบริโภค

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ย วัสดุปลูก ถาดเพาะ กล้าไม้ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 17,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การฝึกอบรมการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุเพาะ ถุง เชื้อเห็ด เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 17,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : การฝึกอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาดอกไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประนอม  ยังคำมั่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ดอกไม้สำหรับทำชา เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุง หม้อ ถาด ตะกร้า เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 : การฝึกอบรมการแปรรูปแมลงกินได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วงค์พันธ์  พรหมวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น อาหารสัตว์ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุง หม้อ ถาด ตะกร้า เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6 : การฝึกอบรมการแปรรูปเวชสำอางจากสมุนไพรพื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น พืชสมุนไพร ปุ๋ย ยา เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุง หม้อ ถาด ตะกร้า เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมี เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 7 : การฝึกอบรมการถ่ายภาพผลิตผลทางการเกษตรเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะ  พละปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด กระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 8 : การฝึกอบรมการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 60 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 3 แบบ แบบละ 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น เทปใส ปากกา สมุด กระดาษ กรรไกร เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 9 : การฝึกอบรมการพัฒนาเครือข่ายการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสพกพา เมาส์ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,900.00 บาท 0.00 บาท 6,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ แฟ้ม เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ช่วงเวลาการจัดกิจกรรมอาจตรงกับช่วงฤดูกาลเพาะปลูกหรือการเก็บเกี่ยวของประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งอาจส่งผลให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมน้อยน้อย
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 และไข้หวัดใหญ่ ระลอกใหม่อาจทำให้ไม่สามารถร่วมกลุ่มประชาชนจำนวนมากได้ หรือต้องเลื่อนการจัดกิจกรรมได้ อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการนัดหมายในช่วงเวลาที่เหมาะสมและอาศัยผู้นำท้องถิ่นในการประสานงานและประชาสัมพันธ์โครงการ
มีการติดตามข่าวสารและมาตรการควบคุมโรคจากสำนักงานสาธารณสุขจังเชียงใหม่ หรือกรมควบคุมโรค และมีการติดต่อกับผู้นำชุมชนอยู่เสมอเพื่อเตรียมความพร้อมในการฝึกอบรม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล