20893 : โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตอำเภอสันทราย เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/11/2566 10:48:57
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้สูงอายุในอำเภอเมือง และอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร  คำยอด
อาจารย์ ดร. ลักขณา  ชาปู่
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA67-2.7 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด LA67 จำนวนโครงการที่มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
กลยุทธ์ LA67 ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีการคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแล ผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ในสังคมล้านนาผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุตอนต้น ที่ยังสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้เพิ่มขึ้น โดยอาศัยการต่อยอดจากการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทยเพื่อเป็นการสนับสนุนช่องทางการตลาด อีกทั้งเป็นการเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพของผู้สูงอายุในชุมชนโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมเป็นฐาน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตอำเภอสันทราย เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย พัฒนาขึ้นการฐานคิดทางด้านวัฒนธรรมที่ยึดโยงกับเครื่องหอมที่อยู่คู่สังคมไทยนั่นคือน้ำอบไทย ซึ่งเป็นเครื่องหอมไทยที่คนไทยนิยมใช้ในทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย โดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ ดังนั้นการผลิตน้ำอบไทยนอกจากเป็นการอนุรักษ์ และจรรโลงไว้ซึ่งความเป็นไทยแล้วยังสามารถนำมาพัฒนาเป็นอาชีพ จึงได้เป็นที่มาของหลักสูตรพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ อีกทั้งเพื่อสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพให้กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนเขตอำเภอสันทราย เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะ ในการเป็นผู้ประกอบการทางด้านวัฒนธรรมโดยต่อยอดจากทักษะเดิม ในรูปแบบของการอบรมจากวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้านเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย และด้านการตลาด อาศัยกลไกของประชารัฐในการผลักดันให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างรายได้ และลดภาระของประชากรวัยแรงงานที่ต้องดูแลผู้สูงอายุ อีกทั้งเป็นการสร้างบรรยากาศเรียนรู้ในชุมชน ทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างมีความสุข

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนเขตอำเภอสันทราย โดยอาศัยองค์ความรู้เกี่ยวกับงานการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย
เพื่อเพิ่มช่องทางสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย และผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.025 0.025 ล้านบาท 0.05
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 จำนวน 25
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น/ครัวเรือน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 5 ร้อยละ 5
KPI 6 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 70 ร้อยละ 70
KPI 7 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย และผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตอำเภอสันทราย เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตเครื่องหอมไทยประเภทน้ำอบไทย จำนวน 2 ครั้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร  คำยอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ติดบรรจุภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 300.00 บาท 300.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 2 คน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 4 คน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น หม้อเคลือบ ขวดแก้ว น้ำมันหอมระเหย เครื่องหอมไทย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การทำเครื่องหอมไทยและการปลูกฝังวัฒนธรรมไทย
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
สมศ 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล