20810 : โครงการศึกษาองค์ประกอบสารสำคัญและคุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทยในภาคเหนือตอนบน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ดร.นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2566 14:21:01
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย นักศึกษาสาขาวิทยาการสมุนไพร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2567 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) โครงการศึกษาองค์ประกอบสารสำคัญ และคุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทยในภาคเหนือตอนบน 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาวิณี  อารีศรีสม
อาจารย์ ดร. กอบลาภ  อารีศรีสม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.4 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กพอ.
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการนำผลงาน และเผยแพร่ผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ใช้เกษตรเป็นรกฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.2.4 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณพ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กพอ.
กลยุทธ์ 67 AP 2.2.3.3 ส่งเสริมและสนับสนุนนักวิจัยให้นำผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ด้านการเกษตร ไปเผยแพร่ผลงานวิจัย หรือนำเสนอผลงานวิจัย หรือตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ หรือนานาชาติ
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.1.2 ส่งเสริมและผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แตงไทย เป็นพืชวงศ์เดียวกับ บวบ ฟัก หรือแตงต่าง ๆ อยู่ในวงศ์ CUCURBITACEAE มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cucumis melo L. เป็นไม้ล้มลุกที่มีเถาเลื้อยไปบนดิน ผลมีขนาดโตกว่าแตงกวา แต่เล็กกว่าแตงโม รูปร่างกลมรี หรือกลมยาว หัวท้ายมน ผิวเปลือกบาง ผิวสีขาว ครีม เหลือง เขียว หรือมีลาย เนื้อเมื่ออ่อนสีขาว เมื่อสุกสีขาว เขียวอมเหลือง แสด ฯลฯ เนื้ออ่อนนุ่ม บางพันธุ์ ค่อนข้างร่วน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวค่อนข้างแรง รสหวานไม่มากเท่าแตงโม ขึ้นอยู่กับพันธุ์และวิธีปลูก เมล็ด แบนสีขาวครีมเล็ก และสั้นกว่าเมล็ดแตงกวา (สำนักงานข้อมูลสมุนไพร, ม.ป.ป.) แตงไทยใช้เป็นทั้งผักและผลไม้ เมื่ออยู่ในช่วงผลอ่อนสามารถกินเป็นผักสด กินเป็นผักจิ้มน้ำพริก ใช้เป็นเครื่องเคียงกินกับยำกับน้ำพริกได้หลายชนิด ใช้ผัด ใช้แกงกินได้มากมายหลายอย่าง ถ้าผลสุกจะเป็นผลไม้รสชุ่มเย็น นิยมกินกับน้ำแข็งใส่น้ำเชื่อม ทำเป็นกะทิแตงไทย แตงไทยมีรสชาติไม่เหมือนผลไม้อื่น มีกลิ่นหอมรสหวาน แตงไทยประกอบไปด้วยสารอาหารต่าง ๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี เนื้อมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไหล ดอกอ่อนตากแห้งต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก เมล็ดแก่ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ รากต้มดื่มช่วยระบายท้อง (คลังสมุนไพร, 2561) เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรายงานในต่างประเทศที่ได้ทำการศึกษาวิจัยพบว่าในเมล็ดของแตงต่าง ๆ พบว่ามีสารสำคัญหลายชนิดเช่น Rolim et al. (2018) พบว่าในเมล็ด Melon (Cucumis melo L.) ในประเทศบราซิล พบสารกลุ่มฟีนอลิก และนอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติในการยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง เช่นเดียวกันกับ Zhang et al. (2020) พบว่าในเมล็ดแตง พบสารกรดแกลลิกซึ่งเป็นสารกลุ่มฟีนอลลิก และรูทินซึ่งเป็นสารกลุ่มฟลาโวอยด์ โดยสารทั้งสองชนิดมีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Zeb (2016) พี่พบว่าในเมล็ดพบสารกลุ่มฟีนอลิก ได้แก่ กรดแกลลิก และสารอนุพันธ์ และนอกจากนี้ในเมล็ดแตง ยังมีน้ำมันที่อุมดมไปด้วยคุณค่าทางสารอาหาร และวิตามิน และกรดไขมันต่าง ๆ (Ayadi et al., 2019) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าแตงไทยนั้นสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างานอกจากเนื้อแตงไทยที่เอามารับประทานเท่านั้น เมล็ดแตงไทยก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ ที่จะสามารถนำไปพัฒนา หรือต่อยอดเพื่อทำให้แตงไทยสามารถเพิ่มมูลค่าขึ้นได้ ในหลายๆ ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า แตงไทยเริ่มที่จะได้รับความนิยมลดลง อาจเนื่องจากหลายปัจจัย ซึ่งทำให้เกษตรกรที่ปลูกแตงไทยในอนาคตข้างหน้าอาจจะต้องประสบกับปัญหา ในเรื่องของราคา การตลาด และอื่น ๆ เป็นต้น ดังนั้นท่ามีการพัฒนา หรือทำการวิจัยแตงไทย ให้เป็นผลิตภัณฑ์ หรือพัฒนาต่อยอดทำให้ได้สินค้าที่ผลิตจากแตงไทยมีมูลค่าที่เพิ่มมากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมต่าง ๆ เข้าช่วย ซึ่งคาดว่าจะช่วยทำให้แตงไทยสายพันธ์ของไทยสามารถที่จะคงอยู่คู่ประเทศไทยของเราได้ต่อไป และสามารถที่จะช่วยทำให้เกษตรกรสามารถ ปลูกแตงไทย และมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น และยังสามารถช่วยสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการอนุรักษ์แตงไทย และส่งเสริมให้มีการปลูกแตงไทยได้ต่อไป อย่างยั่งยืน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงสนในที่จะทำการศึกษาถึงองค์ประกอบทางสารสำคัญ และคุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทยในเขตภาคเหนือ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอาง อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพต่อไปในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อทำการศึกษาองค์ประกอบสารสำคัญ คุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทย ในเขตภาคเหนือตอนบน
3. เพื่อใช้เป็นข้อมูล และแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอาง เครื่องดื่ม หรืออาหารเพื่อสุขภาพจากเมล็ดแตงไทยต่อไปในอนาคต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ข้อมูลปริมาณสารสำคัญ และคุณค่าทางสารอาหารในเมล็ดแตงไทย
KPI 1 : ได้ข้อมูลปริมาณสารสำคัญและคุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทยในภาคเหนือตอนบน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
8 ตัวอย่าง 8
KPI 2 : ร้อยละของงานวิจัยที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของวิจัย
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละของงบประมาณที่ใช้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ข้อมูลปริมาณสารสำคัญ และคุณค่าทางสารอาหารในเมล็ดแตงไทย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 เก็บตัวอย่างเมล็ดแตงไทย ในเขตภาคเหนือตอนบน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 31/01/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเตรียมตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์สำหรับปริมาณสารสำคัญ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บตัวอย่างเมล็ดแตงไทยในเขตภาคเหนือตอนบน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเตรียมตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์สำหรับปริมาณคุณค่าทางสารอาหาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4, ค่าถ่ายเอกสาร, คลิปหนีบสีดำ, เทปใส, เทปกระดาษกาวย่น, ปากกาเคมี เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
11,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องแก้ว สารเคมีบริสุทธิ์ และวัสดุวิทยาศาสตร์สิ้นเปลือง เช่น สารมาตรฐาน ถุงมือ กระดาษกรอง สารละลายอินทรีย์ ฯลฯ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 70,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสต์ (Hard Disk) ซีดี รอม (CD-ROM) ตลับผงหมึกสำหรับเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ ฯลฯ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การวิเคราะห์คุณค่าทางสารอาหารของเมล็ดแตงไทย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องแก้ว สารเคมีบริสุทธิ์ และวัสดุวิทยาศาสตร์สิ้นเปลือง เช่น สารมาตรฐาน ถุงมือ กระดาษกรอง สารละลายอินทรีย์ ฯลฯ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 75000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล