20806 : โครงการขับเคลื่อนและหนุนเสริมองค์ความรู้ศาสตร์ในหลวงรัชกาลที่ 9 สู่ชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ชรินทร์ทิพย์ โกฎิแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/11/2566  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  ประชาชนทั่วไป คณาจารย์และนักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินอุดหนุนโครงการสนับสนุนงานตามพระราชดำริ พ.ศ.2567 2567 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผานิตย์  นาขยัน
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ปรมินทร์  นาระทะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.2.1 ขับเคลื่อนการสำรวจผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมายจากการให้บริการวิชาการและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร ได้พระราชทานแนวทางการพัฒนาที่ใช้แนวคิดอันเหมาะสม และสอดคล้องกับภูมิสังคม อันได้แก่ สภาพพื้นที่ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งทั้งหมดอยู่บนฐานความคิดของความพอเพียง นอกจากนี้ ยังมีปราชญ์ท้องถิ่นจำนวนมากที่ได้สร้างสรรค์แนวทางในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแนวพระราชดำริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการสนับสนุนของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา จึงได้จัดการศึกษาในระดับปริญญาโท ภาคพิเศษ สาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน คณะผลิตกรรมการเกษตร ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 เป็นต้นมา เพื่อเรียนรู้แนวทางการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ อันนำไปสู่การพัฒนา เพิ่มศักยภาพของนักศึกษาในฐานะที่เป็นทรัพยากรมนุษย์และสังเคราะห์ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการขยายผลและต่อยอดอย่างต่อเนื่องในสังคม จนกระทั่งในปัจจุบันนี้หลักสูตรได้รับนักศึกษาเพื่อผลิตมหาบัณฑิตเป็นรุ่นที่ 18 และรุ่นที่ 19 และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสถานการณ์ในปัจจุบันที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปและส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ในสังคมเป็นอย่างมาก ผู้คนจึงได้น้อมนำแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร มาเป็นแนวทางในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมรวมถึงการนำองค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน และสังคมประเทศชาติ ประกอบกับรัฐบาลในทุกสมัยได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินการตามศาสตร์ของพระองค์ฯ ในขณะเดียวกันสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและการบริหารงบประมาณขององค์กรทำให้การบริหารจัดการของหลักสูตรประสบปัญหาในหลายๆ ด้าน ซึ่งสวนทางกับกระแสความต้องการพัฒนาความรู้ของประชาชนที่ต้องการเข้ามาศึกษาต่อในหลักสูตร ดังนั้นหลักสูตรจึงได้หาแนวทางในการนำองค์ความรู้ของหลักสูตรที่มีอยู่ไปเผยแพร่สู่สาธารณชนให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดโดยคณาจารย์ของหลักสูตรที่มีความเชี่ยวชาญแต่ละด้าน รวมถึงเป็นการบูรณาการการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมร่วมกับการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดแนวคิดการแก้ไขปัญหาจริง ทั้งนี้ในการดำเนินงานที่ผ่านมา หลักสูตรมีเป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่ (are based) อย่างต่อเนื่องในพื้นที่ใกล้เคียงในจังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ป่าต้นน้ำทางภาคเหนือ ได้รับผลกระทบจากกระแสการพัฒนาทุนนิยม ทำให้ประชาชนในพื้นที่สูงตัดไม้ทำลายป่า เพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว และส่งผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมตามมามากมาย รวมถึงผลกระทบทางด้านสังคม วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ ได้แก่ การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร นอกจากนี้หลักสูตรยังได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของพื้นที่หลายๆ พื้นที่รอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ยังทำการเกษตรเคมี ทำให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจึงได้มีการนำองค์ความรู้ตามศาสตร์ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ออกไปเผยแพร่สู่ชุมชนต่างๆ โดยบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนภาคสนาม รวมถึงการสำรวจ และนำไปสู่การแก้ไขปัญหาของชุมชนดังกล่าว โดยพื้นฐานของการแก้ไขปัญหาทั้งด้านภูมิ (ภูมิศาสตร์กายภาพ ได้แก่ ดิน น้ำ ป่า) และด้านสังคม (วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ การศึกษา สาธารณสุข ภูมิปัญญา เป็นต้น) คือ การน้อมนำศาสตร์ในหลวง รัชกาลที่ 9 ไปประยุกต์ใช้ ทั้งด้านแนวคิดทฤษฎีในพระราชดำริ ดิน น้ำ ป่า รวมถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นศาสตร์หรือองค์ความรู้ที่ได้เห็นเป็นประจักษ์ชัดเจนว่าสามารถทำให้ชุมชนและสังคมอยู่แบบพึ่งพาตนเองและเกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคตได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
เพื่อเสริมการพัฒนางานวิชาการและวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาด้านการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
เพื่อให้ชุมชนได้รับการพัฒนาโดยการน้อมนำองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร ให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน
เพื่อสนับสนุนการสนองงานโครงการตามพระราชดำริ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชน สังคม ได้น้อมนำองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร (ศาสตร์ในหลวง รัชกาลที่ 9) ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินวิถีชีวิตเพื่อให้ชุมชน สังคม มีความยั่งยืน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ารับฟังการบรรยายองค์ความรู้ฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ของหลักสูตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการดำเนินงานตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0915 0.0085 ล้านบาท 0.1
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : หลักสูตรดำเนินงานภายใต้การสนับสนุนงานพระราชดำริได้รับการยกระดับการศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หลักสูตร 1
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับองค์ความรู้จากวิทยากรบรรยายให้ความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชน สังคม ได้น้อมนำองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร (ศาสตร์ในหลวง รัชกาลที่ 9) ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินวิถีชีวิตเพื่อให้ชุมชน สังคม มีความยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
การจัดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ศาสตร์พระราชาสู่ชุมชน ในลักษณะของการบรรยายพิเศษให้แก่บุคลากรภาครัฐ เอกชน และประชาชนผู้สนใจทั่วไป โดยวิทยากรที่มีองค์ความรู้
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การบรรยายพิเศษ "การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ตามภูมิสังคมไทย" และ "พระราชปรัชญาด้านเศรษฐกิจพอเพียง" โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ชรินทร์ทิพย์  โกฎิแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8500.00
ชื่อกิจกรรม :
กระบวนการเรียนรู้ร่วมชุมชนศึกษากับโครงการพระราชดำริหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
กิจกรรมย่อยที่ 2.1 กระบวนการเรียนรู้การบริหารโครงการกับหน่วยงานโครงการพระราชดำริ และชุมชนขยายผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/11/2566 - 03/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 7 วัน เป็นเงิน 5,040 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,040.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,040.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย จำนวน 3 คน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 6 คืน เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน ๆ ละ 2,800 บาท ต่อวัน จำนวน 7 วัน เป็นเงิน 39,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
39,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 39,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 5 แห่ง ๆ ละ 394 บาท เป็นเงิน 1,970 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,970.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,970.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 55210.00
ชื่อกิจกรรม :
กระบวนการเรียนรู้ร่วมชุมชนศึกษากับโครงการพระราชดำริหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การเรียนรู้ชุมชนบนฐานทรัพยากร กับความหลากหลายทางชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2567 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนิษฐา  เสถียรพีระกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  ศรีเงินยวง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ชรินทร์ทิพย์  โกฎิแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชญ์ภาส  สังพาลี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 1 คน ๆ ละ 270 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 810 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 810.00 บาท 0.00 บาท 810.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 1 คน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 720 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 720.00 บาท 0.00 บาท 720.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย จำนวน 2 คน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 2 คืน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน ๆ ละ 2,800 บาท ต่อวัน จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 16,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20330.00
ชื่อกิจกรรม :
กระบวนการเรียนรู้ร่วมชุมชนศึกษากับโครงการพระราชดำริหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
กิจกรรมย่อยที่ 2.3 การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยกับการพัฒนาตามภูมิสังคมที่ยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/04/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 2,160 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,160.00 บาท 0.00 บาท 2,160.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย จำนวน 3 คน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 2 คืน เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถ จำนวน 2 คัน ๆ ละ 1,800 บาท ต่อวัน จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15960.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล