20622 : โครงสร้างเครือข่ายเกษตรกรอินทรีย์ภาคเหนือตอนบนเพื่อส่งเสริมระบบการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพาพร คำแดง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/4/2567 14:47:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 465,637.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร  คำแดง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์  วงศ์ศิริอำนวย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร  ปัญโญใหญ่
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3.1.6 EN67 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันภาคการตลาดและผู้บริโภคมีความต้องการอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณภาพสูง สำหรับมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารนั้นเป็นความต้องการของประชาชนทั้งประเทศ ซึ่งทุกประเทศได้กำหนดมาตรฐานและกฎระเบียบด้านอาหารปลอดภัย เพื่อปกป้องชีวิตและสุขภาพของผู้บริโภค โดยอ้างอิงจากมาตรฐานด้านสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช เพื่อควบคุมสินค้าด้านการเกษตรและอาหาร ให้ปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารเคมี จุลินทรีย์และศัตรูพืช โดยเฉพาะพืชผัก ที่เกษตรกรมีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตที่มากเกินความจำเป็น มีการใช้อย่างไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขอนามัย ของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภค ซึ่งในปัจจุบันผลผลิตพืชผักปลอดภัยในตลาดมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการส่งเสริมและพัฒนาให้เกษตรกรมีความรู้ ทักษะ และความชำนาญ สามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศ แต่เกษตรกรในฐานะผู้ผลิตยังไม่มีความรู้ทักษะในการผลิตที่มีการควบคุมและต้องปฏิบัติตามมาตรฐานระบบการผลิต จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในระบบการผลิตสินค้าเกษตรและคุณภาพสิ่งแวดล้อมรวมทั้งปลอดภัยต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภค ประเทศไทยนับได้ว่าเป็นประเทศที่มีพื้นที่เกษตรกรรมเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีพื้นที่การเกษตรคิดเป็น 47% ของพื้นที่ทั้งประเทศ อย่างไรก็ดีผลผลิตยังอยู่ในระดับต่ำเนื่องจากมีปัญหาดินเสื่อมในระดับรุนแรงและวิกฤตรวมกัน 36 ล้านไร่ คิดเป็น 11.2% ของพื้นที่ประเทศ และปัญหาดินเสื่อมมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 1 ล้านไร่ การใช้ผลผลิตจากชีวมวลหรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อนำมา เป็นองค์ประกอบของการเกษตรแบบปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์ นั้นมีบทบาทสำคัญต่อภาคเกษตรกรรมเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากสามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตรมากมาย โดยเฉพาะถ่านชีวภาพมีความคงตัวสูงย่อยสลายได้ช้าจึงช่วยกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินได้ยาวนานและไม่ทำปฏิกิริยากับสารใดๆ สามารถกักเก็บน้ำและเป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ ซึ่งเป็นตัวสร้างสารอาหารในดินทำให้ดินชุ่มชื้นและอุดมสมบูรณ์ปลดปล่อยธาตุอาหารให้แก่พืช แบบช้าๆ เพิ่มคุณภาพของปุ๋ยอินทรีย์ให้สูงขึ้นสร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ รูพรุนตามธรรมชาติของถ่านชีวภาพ เมื่อใส่ลงในดินจะช่วยการระบายอากาศ การซึมน้ำ การอุ้มน้ำ ดูดยึดธาตุอาหาร เป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ ลดความเป็นกรดของดิน นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มคุณภาพของปุ๋ยให้สูงขึ้น ทำให้ประหยัดการใช้ปุ๋ย ลดต้นทุน เพิ่มรายได้เพิ่มผลผลิต เป็นเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาได้ตั้งแต่ระดับเกษตรกร ครัวเรือน ชุมชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น การผลิตถ่านชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น ฟางข้าว แกลบ ต้น ตอ หรือซังข้าวโพด เป็นต้น สามารถช่วยลดขยะชีวมวล และหากนำถ่านชีวภาพมาใช้เป็นส่วนผสมของปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรกรรม สามารถช่วยเพิ่มธาตุคาร์บอนให้แก่ดิน ช่วยในการบำรุงดิน เพิ่มความสมบูรณ์ให้ดิน ปรับปรุงสภาพทางกายภาพของดิน เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพิ่มอาหารปลอดสารพิษ เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร และสามารถลดปัญหาโดยอ้อมด้านหมอกควันในบรรยากาศ อันเป็นตัวการหนึ่งของภาวะโลกร้อนได้อย่างยั่งยืน สร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศอย่างยั่งยืน อีกทั้งยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย จากการนำยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เพื่อการจัดการดูแลและยกระดับประชาชนผู้มีรายได้น้อย ให้มีความเข้มแข็งและเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการเศษวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร ด้วยการนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและเกษตรกรรม ตั้งแต่ระดับเกษตรกร ครัวเรือน และชุมชน อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้เกษตรกรได้ตระหนักถึงปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการขยะจากเศษวัสดุทางการเกษตรอย่างเหมาะสม เพื่อลดค่าใช้จ่ายและช่วยสร้างรายได้จากการใช้และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการ จัดเก็บวัสดุทางการเกษตร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นเกษตรกรรมยั่งยืนในรูปแบบของเกษตรกรรมผสมผสาน
เพื่อให้เกษตรกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรจากเกษตรอินทรีย์ได้
ให้ความรู้กับเกษตรกรในการปรับเปลี่ยนระบบการผลิต และสนับสนุนการพัฒนาระบบการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบสำหรับเป็นศูนย์กลางเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และข้อมูลข่าวสารแนวทางการบริหารจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร โดยนำมาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และพลังงานความร้อนเพื่อนำมาแปรรูปสินค้าเกษตร
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 100
ผลผลิต : เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการผลิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในรูปแบบของเกษตรกรรมผสมผสาน จากการผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร เช่น เชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และพลังงานความร้อนแล้วนำไปประยุกต์ใช้ได้ในแต่ละพื้นที่ตามความเหมาะสมต่อไป
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
ผลผลิต : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จากเกษตรอินทรีย์ ให้กับเกษตรกรที่เข้าอบรมให้สามารถนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้กับพื้นที่เกษตรกรรมของตนเองและในพื้นที่ใกล้เคียงในชุมชนได้
KPI 1 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
ผลผลิต : เกษตรกรได้รับการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรด้วยการผลิตด้วยระบบการผลิต/ปัจจัยการผลิต/เทคโนโลยีที่เหมาะสม
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบสำหรับเป็นศูนย์กลางเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และข้อมูลข่าวสารแนวทางการบริหารจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร โดยนำมาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และพลังงานความร้อนเพื่อนำมาแปรรูปสินค้าเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
เตรียมความพร้อมและฝึกอบรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพาพร  คำแดง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนศิษฏ์  วงศ์ศิริอำนวย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำชุดฝึกอบรมเกษตรอินทรีย์ (50 ชุด x 1 วัน x 950 บาท x 2 ครั้ง = 95,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 95,000.00 บาท 95,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำชุดฝึกอบรมผลิตถ่านชีวภาพคุณภาพสูง (50 ชุด x 1 วัน x 950 บาท x 2 ครั้ง = 95,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 95,000.00 บาท 95,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการขนย้ายวัสดุอุปกรณ์ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (1 คัน x 2 วัน x 3,000 บาท x 2 ครั้ง = 12,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (50 คน x 1 มื้อ x 150 บาท x 2 ครั้ง = 15,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 คน x 2 มื้อ x 35 บาท x 2 ครั้ง = 7,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรบุคลากรของรัฐ (วิทยากร 4 คน x 2 ชม. x 600 บาท/ชม./คน x 2 ครั้ง = 9,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,500.00 บาท 36,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท 65,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,537.00 บาท 15,537.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 465637.00
ผลผลิต : เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการผลิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในรูปแบบของเกษตรกรรมผสมผสาน จากการผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร เช่น เชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และพลังงานความร้อนแล้วนำไปประยุกต์ใช้ได้ในแต่ละพื้นที่ตามความเหมาะสมต่อไป
ผลผลิต : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จากเกษตรอินทรีย์ ให้กับเกษตรกรที่เข้าอบรมให้สามารถนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้กับพื้นที่เกษตรกรรมของตนเองและในพื้นที่ใกล้เคียงในชุมชนได้
ผลผลิต : เกษตรกรได้รับการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรด้วยการผลิตด้วยระบบการผลิต/ปัจจัยการผลิต/เทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เข้าร่วมอบรมมีเวลาจำกัด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์โดยการประสานงานกับชุมชนโดยตรง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ถ่านชีวภาพและการจัดการเศษวัสดุชีวมวล
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
สมศ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ประโยชน์
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการปฏิบัตินอกห้องเรียนและนำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 80 นำข้อมูลไปประกอบการเขียนบทความทางวิชาการ
เอกสารประกอบ