17127 : โครงการขับเคลื่อนการเปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.อัยวริญ แก้วชิต (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/5/2564 9:16:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตร อาจารย์ และบุคคลากรที่เกี่ยวข้อง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงาน การเรียนการสอน งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการภารกิจพัฒนางานเดิม (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ) (โครงการขับเคลื่อนการเปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร) 2564 36,760.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. กอบลาภ  อารีศรีสม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาวิณี  อารีศรีสม
น.ส. อัยวริญ  แก้วชิต
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.1 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ 64 MJU 1.1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 AP 2.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 64 AP2.1.1.3 ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้ทันยุคสมัย เป็นไปตามมาตรฐานระดับอุดมศึกษา
ตัวชี้วัด 64 AP 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 AP 2.1.1.5 พัฒนากระบวนการสหกิจศึกษา ของนักศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมสู่ชีวิตการทำงานหลังการจบการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และผู้ใช้บัณฑิต
เป้าประสงค์ 64 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 AP 2.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 64 AP2.1.1.3 ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้ทันยุคสมัย เป็นไปตามมาตรฐานระดับอุดมศึกษา
ตัวชี้วัด 64 AP 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 AP 2.1.1.5 พัฒนากระบวนการสหกิจศึกษา ของนักศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมสู่ชีวิตการทำงานหลังการจบการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และผู้ใช้บัณฑิต
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 AP 2.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 64 AP2.1.1.3 ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้ทันยุคสมัย เป็นไปตามมาตรฐานระดับอุดมศึกษา
ตัวชี้วัด 64 AP 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 AP 2.1.1.5 พัฒนากระบวนการสหกิจศึกษา ของนักศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมสู่ชีวิตการทำงานหลังการจบการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และผู้ใช้บัณฑิต
เป้าประสงค์ 64 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 AP 2.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 64 AP2.1.1.3 ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้ทันยุคสมัย เป็นไปตามมาตรฐานระดับอุดมศึกษา
ตัวชี้วัด 64 AP 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 AP 2.1.1.5 พัฒนากระบวนการสหกิจศึกษา ของนักศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมสู่ชีวิตการทำงานหลังการจบการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และผู้ใช้บัณฑิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ไม่ว่าโลกในยุคปัจจุบันและอนาคตจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดก็ตาม การจัดการทรัพยากรทุกประเภทบนโลกใบนี้ ยังคงเป็นศาสตร์ที่สำคัญตลอดกาล เพราะปัญหาต่าง ๆ ในสังคม หรือแม้แต่ความเจริญวัฒนาที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ ล้วนแล้วแต่เป็นผลพวงจากการจัดการและพัฒนาทรัพยากรทั้งสิ้น ดังนั้น ศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดความคุ้มค่า จะก่อให้เกิดการพัฒนาในสังคม โดยให้ความสำคัญกับทั้งทรัพยากรมนุษย์ซึ่งเป็นต้นตอของทั้งการพัฒนา และปัญหาต่าง ๆ รวมถึงการจัดการและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืนของสังคมโลก ทรัพยากรด้านการเกษตรซึ่งเป็นเศรษฐกิจพื้นฐานของมนุษย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้าง (Aims/Expected outcomes) นักจัดการและพัฒนาทรัพยากรที่มีทักษะในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กร และเพื่อตนเองในการเป็นผู้ประกอบการบนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างยั่งยืน การเป็นนักจัดการและพัฒนาทรัพยากร ที่หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรด้านการเกษตร และทรัพยากรมนุษย์ เป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับประเทศภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินการและขับเคลื่อนบนฐานของการใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงคนรุ่นถัดไป (Next generation) จึงถือได้ว่าเป้าหมายการผลิตบัณฑิตของหลักสูตรฯ นี้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555-2569) ในส่วนแผนพัฒนาเชิงรุก (Proactive plan) คือ การเป็นมหาวิทยาลัยอินทรีย์ (Organic University) เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และ เป็นมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco-oriented University) และยังช่วยสนับสนุนตัวชี้วัดในแผนการบริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ (พ.ศ.2563-2566) ในมิติที่ 4 คือการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ (Smart and Modern Agricultural Technology Innovation) นอกจากนั้น หลักสูตรฯ ยังตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการ “เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ” และสอดคล้องกับแผนพัฒนาตามพันธกิจ (Mission plan) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในทุกประเด็นยุทธศาสตร์ อันได้แก่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นนานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมโดยใช้เกษตรเป็นรากฐานเพื่อมุ่งสู่การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4: การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5: การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6: การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้การพัฒนาหลักสูตรใหม่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความต้องการของตลาดแรงงานและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในอนาคตได้อย่างสูงสุด
เพื่อให้บุคลากรมีความเข้าใจในการเขียนหลักสูตรทีถูกต้องตามได้มาตรฐานเกณฑ์ของสกอ.กำหนด และสามารถเสนอเปิดหลักสูตรใหม่ได้ตามเกณฑ์ในกรอบเวลาที่กำหนดแผน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพื่อพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร
KPI 1 : ร้อยละดำเนินการตามกระบวนการเสนอเปิดหลักสูตรใหม่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 3 : ร้อยละเสริมสร้างความเข้าใจในการเขียนหลักสูตรใหม่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพื่อพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/05/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.กอบลาภ  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อัยวริญ  แก้วชิต (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร จำนวน 15 คน คนละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 15 คน คนละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,050.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก จำนวน 4 คน คนละ 2,000 บาท
(คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ปริญญาโท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก จำนวน 4 คน คนละ 2,000 บาท
(คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ปริญญาเอก)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18550.00
ชื่อกิจกรรม :
การวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการและพัฒนาทรัพยากร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/05/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.กอบลาภ  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อัยวริญ  แก้วชิต (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร จำนวน 13 คน คนละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คน คนละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
910.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 910.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก จำนวน 4 คน คนละ 2,000 บาท
(คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร ปริญญาโท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก จำนวน 4 คน คนละ 2,000 บาท
(คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร ปริญญาเอก)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18210.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถาณการณ์โรคระบาด โควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตรบางท่านไม่สามารถมาร่วมประชุมที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดเตรียมการประชุมผ่านระบบการประชุมออนไลน์ เพื่อรองรับคณะกรรมการบางท่านที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล