16675 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การเรียนรู้พืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.อัยวริญ แก้วชิต (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/9/2564 14:18:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/12/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  หมอเมืองล้านนา หมอชนเผ่า นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เงินรายได้คณะผลิตกรรมการเกษตร ประจำปี 2564 (จากเงินรับฝากฝึกอบรม ค่าลงทะเบียนอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การเรียนรู้พืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น") 2564 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. กอบลาภ  อารีศรีสม
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิกานดา  ใหม่เฟย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาวิณี  อารีศรีสม
ดร. นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์
น.ส. อัยวริญ  แก้วชิต
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.3.2 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้
ตัวชี้วัด 64 AP2.3.5 รายได้จากการให้บริการวิชาการ (อบรม ดูงาน ที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ 64 AP 2.3.5.23 ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่โบราณจวบจนถึงปัจจุบัน สามารถรักษาโรคบางชนิดได้โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน ซึ่งยาแผนปัจจุบันบางชนิดมีราคาแพงต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง และอาจหาซื้อได้ยาก แตกต่างจากสมุนไพรพื้นบ้านที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นเพราะส่วนใหญ่ได้จากพืชซึ่งมีอยู่ทั่วไป ใช้เป็นยาบำรุงรักษาให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง ใช้ปรุงแต่ง กลิ่น สี รส ของอาหาร การส่งเสริมให้ผู้ที่สนใจในแต่ละท้องถิ่นรู้จักสรรพคุณของพืชสมุนไพรและสามารถนำพืชสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่นของตนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแบบแผนโบราณจะทำให้เห็นคุณค่าและกลับมาดำเนินชีวิตใกล้ชิดธรรมชาติมากยิ่งขึ้น เกิดความภูมิใจในมรดกทางภูมิปัญญา เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาหมอเมืองล้านนา ซึ่งในปัจจุบันประชาชนยังรู้จักการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์น้อยมาก เนื่องจากใช้วิธีรักษาโรคกับแพทย์แผนปัจจุบันมายาวนานจึงไม่คุ้นชินกับวิธีการรักษาโรคโดยหมอเมืองล้านนา การศึกษาและเรียนรู้เอกลักษณ์ทางพฤษศาสตร์ของพืชสมุนไพรและเครื่องยาพื้นบ้านเป็นทักษะที่สำคัญในการเรียนรู้พืชสมุนไพร เพื่อการระบุชนิดพืชสมุนไพรและเครื่องยาพื้นบ้านของไทยให้ถูกชนิดตามหลักการที่ถูกต้อง พืชสมุนไพรที่ใช้ในทางอุตสาหกรรมและการเตรียมยาพื้นบ้านนั้นเป็นเครื่องยาสมุนไพรที่ต้องใช้ทักษะและความเชี่ยวชาญในการระบุแหล่งที่มาทางพฤกษศาสตร์ ด้วยเหตุนี้ศูนย์ภูมิปัญญาหมอเมืองล้านนา คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้าน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพ อย่างปลอดภัยโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในราคาสูง เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและเป็นการลดรายจ่ายในครอบครัว ซึ่งทางศูนย์ฯ มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านพืชสมุนไพรและเครื่องยาพื้นบ้าน ศูนย์ฯได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และการฝึกฝนทักษะที่จะนำไปสู่การใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องโดยการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง“การเรียนรู้พืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น” สำหรับหมอเมืองล้านนา หมอเมืองชนเผ่า รวมทั้งผู้ที่สนใจสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันตามวิถีชีวิตพอเพียง นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่นของไทยให้ยั่งยืนตลอดไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เข้ารับการอบรมรับรู้ประโยชน์ เห็นคุณค่าและสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้านของไทย
เพื่อส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือนมากยิ่งขึ้น
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เข้าใจพืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น
เพื่อเผยแพร่คุณประโยชน์และภูมิปัญญาการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านสู่สาธารณะ
เพื่อเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงและสร้างเครือข่ายหมอเมืองล้านนา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อบรมให้ความรู้ด้านเครื่องยาสมุนไพรพื้นบ้านและฝึกปฏิบัติการด้านพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 คน 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเข้าใจพืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ผู้เข้าร่วมอบรมมีแนวคิดและสามารถนำพืชสมุนไพรไปใช้ในชีวิตประจำวันและครัวเรือนมากยิ่งขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อบรมให้ความรู้ด้านเครื่องยาสมุนไพรพื้นบ้านและฝึกปฏิบัติการด้านพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
ชื่อกิจกรรม :
การเรียนรู้พืชสมุนไพรที่ใช้กับเครื่องยาพื้นบ้านเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/12/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.กอบลาภ  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกานดา  ใหม่เฟย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อัยวริญ  แก้วชิต (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าห้องประชุม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
หักค่าธรรมเนียมในการอุดหนุนมหาวิทยาลัย 10 เปอร์เซ็นต์ เข้าสาธารณูปโภคส่วนกลางมหาวิทยาลัย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
หักค่าธรรมเนียมในการอุดหนุนคณะผลิตกรรมการเกษตร 3 เปอร์เซ็นต์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท 2,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
หักค่าธรรมเนียมในการอุดหนุนสำนักงานกิจการพิเศษ 2 เปอร์เซ็นต์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,746.00 บาท 1,746.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน คนละ 3 มื้อ มื้อละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน คนละ 6 มื้อ มื้อละ 30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากรภายนอก
- ภาคบรรยาย จำนวน 2 ท่าน ท่านละ 5 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท
- ภาคปฏิบัติ จำนวน 9 ท่าน ท่านละ 5 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากรภายใน จำนวน 1 ท่าน ท่านละ 1 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,954.00 บาท 1,954.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารประกอบการทำกิจกรรม จำนวน 100 ชุด ชุดละ 20 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ส่งผลให้จำนวนผู้ร่วมอบรมมีจำนวนจำกัด เพื่อป้องกันโรคระบาด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปฏิบัติตามคำแนะนำจากหน่วยงานสาธารณสุข เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
mjuปฏิทินกิจกรรม.pdf
กำหนดการ.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล