14167 : โครงการสวนหย่อมกินได้(ปลูกผักแลกค่าเทอม)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.หฤทัย คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/5/2562 10:49:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2562  ถึง  31/05/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนการเรียนการสอน งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป 2562 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. หฤทัย  คงธนจารุอนันต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยุตภัฎ  คำมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่ใช้เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษา เช่น ภาษาอังกฤษ IT/ ทักษะวิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA62 -1 การผลิตบัณฑิต หลักสูตรและการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA62-1.4 นักศึกษาได้รับการเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะในการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด LA62-1.10 ร้อยละความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะในการประกอบอาชีพ
กลยุทธ์ LA62-1.8 ส่งเสริมให้หลักสูตรและคณะจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะในการประกอบอาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้จัดทำโครงการปลูกผักแลกค่าเทอมขึ้น เพื่อสนับสนุนภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิต และเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติงานด้วยการนำองค์ความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากห้องเรียนสู่การปฏิบัติงานจริง (Learning by doing) ในการนี้เพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย และเป็นการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21 คณะศิลปศาสตร์ จึงได้จัดโครงการ สวนหย่อมกินได้ (ปลูกผักแลกค่าเทอม) ขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางในการหารายได้ระหว่างเรียนแก่นักศึกษา และเป็นการเพิ่มองค์ความรู้นอกเหนือจากหลักสูตรที่เรียน โดยรูปแบบของโครงการเป็นการทำคลิปวิดิทัศน์ให้ความรู้เรื่องผลิตพืชผักสวนครัว เริ่มตั้งแต่ การเตรียมวัสดุปลูก การปลูก การดูแลรักษาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ จนนำไปสู่การตกแต่งเป็นสวนหย่อมให้สวยงาม รวมถึงการนำไปจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่นักศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเกี่ยวกับการผลิตพืชผักสวนครัว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเกี่ยวกับการผลิตพืชผักสวนครัว
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเกี่ยวกับการผลิตพืชผักสวนครัว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเกี่ยวกับการผลิตพืชผักสวนครัว
ชื่อกิจกรรม :
จัดทำคลิปวิดีโอเผยแพร่ความรู้เรื่องการผลิตพืชผักสวนครัว เริ่มตั้งแต่การเตรียมวัสดุปลูก การปลูก การดูแลรักษาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ จนนำไปสู่การตกแต่งเป็นสวนหย่อมให้สวยงาม โดยมีคุณอโนชา ปาระมีสัก หัวหน้าโครงการเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชน สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. เป็นวิทยากรให้ความรู้ในกล่าวจัดทำคลิปวิดีโอดังกล่าว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/05/2562 - 31/05/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยุตภัฎ  คำมูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.หฤทัย  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล