11398 : โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนทางการเงินด้วยตัวเอง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/8/2561 14:24:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/08/2561  ถึง  28/08/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 84 คน คณาจารย์และเจ้าหน้าที่จำนวน 6 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1)
2561 4,950.00
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นผู้รับผิดชอบ 2561 276.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
รองศาสตราจารย์ ดร. อารีย์  เชื้อเมืองพาน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.2 ระดับความสำเร็จของแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ด้วยกระบวนการ PDCA
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61ECON-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61ECON 1.2 บัณฑิตมีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 61ECON 1.4 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำและศึกษาต่อภายในระยะเวลา 1 ปี
กลยุทธ์ 61ECON 1.2.2 พัฒนาทักษะแก่นักศึกษาก่อนเข้าสู่การประกอบอาชีพและเรียนต่อ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ภายใต้การเรียนการสอนของหลักสูตรฯ ได้กำหนดวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 3 ประการ คือ 1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ 2. เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และสามารถนำไปประยกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม และ 3. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้กับประสบการณ์ทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการเกษตร และสิ่งแวดล้อมของประเทศ ในการนี้เพื่อให้กระบวนการของหลักสูตรฯสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ในเบื้องต้น ตลอดจนเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฎิบัติสหกิจศึกษา อีกทั้งเป็นการสร้างความตระหนักเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการวางแผนทางการเงินเบื้องต้น ในการอบรมครั้งนี้หลักสูตรได้ร่วมมือกับเครือข่ายหน่วยงานภายนอกในการให้ความรู้แก่นักศึกษาด้านการวางแผนทางการเงินในชีวิต รวมไปถึงประโยชน์จากการลงทุนในอนาคต อีกทั้งได้รับความอนุเคราะห์จาก วิทยากรดำรงตำแหน่งอาจารย์จากสถาบันการศึกษา วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านเงิน และจัดทำบัญชีในการวางแผนในชีวิตประจำวัน อีกทั้งในอดีตท่านเป็นผู้บริหารระดับสูงในสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจอีกด้วย ซึ่งในการอบรมครั้งนี้ มีหัวข้อ ดังนี้ 1)วิธีการวางแผนทางด้านการเงิน 2)การบันทึกรายรับ รายจ่าย และการวิเคราะห์งบการเงินด้วยตนเอง 3)การบริหารหนี้สินเบื้องต้นและมุมมองการแก้ไขปัญหา 4)มูลค่าตามเวลา อัตราดอกเบี้ยทบต้น 5)การเรียนภาคปฏิบัติ การคิดมูลค่าเงินโดยใช้เครื่องคิดเลขทางการเงินผ่าน Smartphone 6)การวางแผนเป้าหมายชีวิตระยะสั้น กลาง ยาว และ7)แนวคิด "ทำไมต้องมีสอบ IC License" เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ภาพรวมการบริหารจัดการด้านการเงิน และสร้างความตระหนักให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการวางแผนทางการเงินเบื้องต้น
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาก่อนฝึกปฎิบัติสหกิจศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับการแผนทางการเงิน
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ (1.00-1.80= น้อยที่สุด, 1.81-2.60= น้อย, 2.61-3.40= ปานกลาง, 3.41-4.20= มาก และ 4.21-5.00= มากที่สุด)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ (84 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับการแผนทางการเงิน
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการวางแผนทางการเงินแก่นักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/08/2561 - 28/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ:-ค่ารถยนต์ส่วนตัวของวิทยากร(จากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ถึงมหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 222 กิโลเมตร (ไป-กลับ) รวมระยะทาง 444 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,776 บาท (ทั้งนี้ขอเบิกเพียง 1,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,776.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง 25 บาท จำนวน 90 คน จำนวน 1 มื้อ เป็นจำนวนเงิน 2.250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรหน่วยงานภาครัฐ ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 ชั่วโมง จำนวน 1 คน เป็นจำนวนเงิน 1,200 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5226.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล