โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง นโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ในยุคดิจิทัล (Digital Economy)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะเศรษฐศาสตร์
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
จากการดำเนินโครงการให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยสรุปแล้วผู้เข้าร่วมโครงการการได้ศึกษาดูงานที่ธนาคารแห่งประเทศไทยในส่วนของภาคเช้าเป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะสัมมนาพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างวิทยากรและนักศึกษาในประเด็นหัวข้อเทคโนโลยีกับการเงินและระบบการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย และในภาคบ่ายเป็นการศึกษาดูงานเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งจะได้เห็นเกี่ยวกับประวัติทางการเงินของประเทศไทยและการดำรงชีวิตของแต่ละภูมิภาคที่สอดคล้องกับวิวัฒนาการทางการเงิน
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนและเสริมทักษะการเรียนรู้นอกชั้นเรียนของนักศึกษา ในรายวิชา ศศ 331 การเงินและการธนาคาร และ ศศ 217 เศรษฐศาสตร์มหภาค2 และให้เกิดความเข้าใจต่อบทเรียน สามารถนำทฤษฎีทางด้านเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เสริมทักษะการเรียนรู้นอกชั้นเรียนของนักศึกษา ในรายวิชา ศศ 331 การเงินและการธนาคาร และ ศศ 217 เศรษฐศาสตร์มหภาค2 และให้เกิดความเข้าใจต่อบทเรียน สามารถนำทฤษฎีทางด้านเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2 เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร AUN QA ของหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร AUN QA ของหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
3 เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ กับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ สร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ กับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : การศึกษาดูงานและฟังบรรยายพิเศษ เรื่อง "เศรษฐกิจและการเงินไทย ในยุค Digital Economy"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมศึกษาดูงานและฟังบรรยายพิเศษ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลการประเมิน-สัมมนาทางวิชาการ.pdf
เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 4.25 100
2. ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (60 คน)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อผู้เข้าร่วมฟังสัมมนา - พ.ย. 59.PDF
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 50 62.50
รวม      81.25
ผลผลิตที่ 2 : การฟังบรรยายพิเศษ เรื่อง "Robustness in Econometrics"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลการประเมิน-สัมมนาทางวิชาการ.pdf
เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 4.25 100
2. ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (60 คน)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อผู้เข้าร่วมฟังสัมมนา - ม.ค.60.PDF
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 83.33 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 90.63
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
16/11/2559  - 11/01/2560 16/11/2559  - 11/01/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ