โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้เข้าสู่มาตรฐานอาเซียน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองพัฒนาคุณภาพ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ดังเอกสารที่แนบมาพร้อมกันนี้..
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาในทุกระดับการศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้ได้รับการยอมรับในระดับอาเซียน ด้วยเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของอาเซียน ดังเอกสารที่แนบมาพร้อมกันนี้
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ได้ความรู้และความเข้าใจในการบริหารหลักสูตรที่ดีที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ในแนวทาง Outcome Based Education (OBE)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าคะแนนเฉลี่ยผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ บริหารหลักสูตรที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ในแนวทาง Outcome Based Education OBE)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงคุณภาพ ค่าคะแนนเฉลี่ย 3 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงปริมาณ ร้อยละ 70 0.00
3. ค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจภาพรวมของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 3.41
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงคุณภาพ ค่าเฉลี่ย 3.41 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : มีหลักสูตร/คณะ/หน่วยงาน ขอรับการประเมินด้วยเกณฑ์ AUN QA หรือ IQA ของ สกอ. ในปีการศึกษา 2559
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าเฉลี่ยผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการขับเคลื่อนผลการดำเนินการระดับหลักสูตร ระดับคณะ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 3.41 0.00
2. จำนวนหลักสูตรขอรับการประเมินด้วยเกณฑ์ AUN QA ไม่น้อยกว่า 1 หลักสูตร ในปีการศึกษา 2559
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงปริมาณ จำนวนหลักสูตร 1 0.00
3. จำนวนหลักสูตรที่ขอรับการประเมินตามองค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน และผ่านการประเมินในระดับดีขึ้นไปตามเกณฑ์ สกอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของหลักสูตรทั้งหมดที่รับการประเมินด้วยเณฑ์ IQA ของ สกอ.
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงปริมาณ ร้อยละ 60 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 3 : คณะมีการพัฒนา/ปรับปรุงกระบวนการทำงานจากการผลักดันของโครงการ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุง 16 กระบวนการ (1 คณะ ต่อ 1 กระบวนการ)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานสรุปโครงการ 7 ล้าน
เชิงปริมาณ กระบวนการ 1 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/12/2559  - 30/06/2560 01/10/2559  - 30/06/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ