โครงการสืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น "วัฒนธรรม ดนตรี ประเพณี วิถีชีวิต ปี 59"
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
การดำเนินการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งผู้บริหาร คณาจารย์ ศิษยืเก่าแม่โจ้ นักศึกษา บุคลากร ประชาชนและชุมชนได้ร่วมกันชื่นชมความงดงามและคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้บริหาร คณาจารย์ ศิษย์เก่าแม่โจ้ นักศึกษา บุคลากรได้ร่วมชื่นชมความงดงามและคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะความสามารถด้านวัฒนธรรมต่างๆ และยอมรับในความแตกต่างซึ่งกันและกัน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ ความสามารถด้านวัฒนธรรม ต่างๆ และยอมรับความแตกต่างซึ่่งกันและกันได้อย่างลงตัว
3 3. เพื่อสร้างบรรยากาศวัฒนธรรม ประเพณี ดนตรีและภูมิปัญญาท้องถิ่นภายในมหาวิทยาลัย ได้สร้างบรรยากาศด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ดนตรี ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่ร่วมกันอย่างเหมาะสม และผู้เข้าร่วมมีความสนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในฐานเรียนรู้และสามารถนำไปต่อยอดได้
4 4. เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงด้านการบริการชุมชนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยได้มีส่วนส่งเสริมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และเป็นการบริการวิชาการวิชาการแก่ชุมชน และผู้สนใจ รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายทางด้านศิลปวัฒนธรรมอันดี
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : 1. จัดนิทรรศการภาพถ่าย "วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้ทรงคุณวุฒิ นักศึกษา บุคลากร นักเรียน
เชิงปริมาณ คน 500 100 20.00
2. การดำเนินงานแล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลา
เชิงเวลา วัน 1 1 100
3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 10400 10400 100
4. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 75 83.33
รวม      75.83
ผลผลิตที่ 2 : 2. การประกวดเล่าเรื่อง "ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นด้วยภาษาถิ่น"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมประกวดใช้ภาษาถิ่นในการเผยแพร่
เชิงปริมาณ คน 10 7 70.00
2. ผู้ทรงคุณวุฒิ นักศึกษา บุคลากร นักเรียน
เชิงปริมาณ คน 500 100 20.00
3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 12100 12100 100
4. ผู้เข้าร่วมโครงการกล้าแสดงออก
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
5. การดำเนินงานแล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลา
เชิงเวลา วัน 1 1 100
6. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
7. ผู้เข้าร่วมประกวดได้เล่าเรื่องราวความภาคภูมิใจ
เชิงปริมาณ คน 10 7 70.00
รวม      80.00
ผลผลิตที่ 3 : 3. การฝึกอบรมและสาธิตภูมิปัญญาท้องถิ่น (ผ้ามัดย้อม ปั้นดิน ประดิษฐ์ใบตอง เพ้นท์กระดาษ มาลัยดอกไม้)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และฝึกฝนด้วยตนเองจนทำได้
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 58 68.24
2. จำนวนกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
เชิงปริมาณ กิจกรรม 5 5 100
3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 22500 22500 100
4. นักศึกษา บุคลากร นักเรียน
เชิงปริมาณ คน 500 300 60.00
5. การดำเนินงานแล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลา
เชิงเวลา วัน 1 1 100
6. ความรู้ที่ได้รับ ก่อน-หลัง
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 80 100
รวม      88.04
ผลผลิตที่ 4 : 4. การเสวนาวิชาการ "แม่โจ้กับพระราชวงศ์"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้ทรงคุณวุฒิ นักศึกษา บุคลากร นักเรียน
เชิงปริมาณ คน 500 90 18.00
2. ผู้เข้าร่วมเสวนาได้รับความรู้จากการร่วมเสวนา
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 75 93.75
3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงน
เชิงต้นทุน บาท 8000 8000 100
รวม      70.58
ผลผลิตที่ 5 : 5. การแสดงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. นักศึกษา บุคลากร นักเรียน
เชิงปริมาณ คน 500 100 20.00
2. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 49000 49000 100
3. การแสดงมีความสอดคล้องและมีคุณค่ากับผู้ชม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 85 100
4. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
5. จำนวนการแสดงศิลปวัฒนธรรม
เชิงปริมาณ ชุด 4 4 100
6. หน่วยงาน สถาบันการศึกษาที่ร่วมแลกเปลี่ยน
เชิงปริมาณ แห่ง 5 5 100
รวม      86.67
ผลผลิตที่ 6 : 6. การแสดงโชว์ตลกและการแสดงดนตรีลูกทุ่ง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 15000 15000 100
2. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 100 100 100
4. นักศึกษา บุคลากร นักเรียน ประชาชนทั่วไป
เชิงปริมาณ คน 500 300 60.00
5. ชุดการแสดงหรือดนตรีศิลปินล้านนา
เชิงปริมาณ ชุด 2 2 100
รวม      92.00
ผลผลิตที่ 7 : 7. กิจกรรมกาดหมั้ว ครัวฮอม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 65050 65050 100
2. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
3. นักศึกษา บุคลากร นักเรียน ประชาชนทั่วไป
เชิงปริมาณ คน 1000 500 50.00
รวม      83.33
ผลผลิตที่ 8 : สืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น "วัฒนธรรม ดนตรี ประเพณี วิถีชีวิต"
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะความสามารถด้านวัฒนธรรมต่างๆ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 85 100
2. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เชิงต้นทุน บาท 43000 43000 100
3. ความพึ่งพอใจภาพรวม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
4. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับบรรยากาศ วัฒนธรรม ประเพณี ดนตรีและภูมิปัญญาท้องถิ่นภายในมหาวิทยาลัย
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 80 88.89
5. มหาวิทยาลัยได้เผยแพร่ชื่อเสียงด้านการบริการชุมชน
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 80 88.89
6. ผู้เข้าร่วมโครงการชื่นชมความงดงามและคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 85 100
7. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
8. นักศึกษา บุคลากร นักเรียน ประชาชนทั่วไป
เชิงปริมาณ คน 2500 725 29.00
รวม      88.35
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 83.10
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
04/07/2559  - 30/09/2559 09/09/2559  - 09/09/2559
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ