งานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 42 และงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 16
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 เดินจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไปเข้าร่วมฝึกซ้อม ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฎกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 ออกเดินทางไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลงทะเบียนและ
ร่วมพิธีเปิดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 41 ร่วมฝึกซ้อมวงดนตรีกลุ่มภาคเหนือ ณ เวทีการ
แสดงหอประชุมจุฬาฯ ฝึกซ้อมการแสดงกลุ่มภาคเหนือ “ฟ้อนม่านแม่เล้” ณ เวทีกลางแจ้งสนาม
หน้าพระบรมราชานุสาวรีย์
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 รับเสด็จ สมเด็จพระเทพฯ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แสดงกลุ่มภาคเหนือ “ฟ้อนม่านแม่เล้” ณ เวทีกลางแจ้ง สนามหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 นักศึกษาร่วมแสดงบรรเลงกลุ่มสถาบันภาคเหนือ การแสดง
เดี่ยวสถาบัน “ล้านนาภิรมย์ อารยธรรมแม่ระมิงค์” เข้าร่วมพิธีส่งมอบตราสัญลักษณ์ และพิธี
ปิดเวทีกลางแจ้งบริวณสนามหญ้าหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 เดินทางกลับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยสวัสดิภาพ
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นในหมู่นิสิตนักศึกษาและคณาจารย์ ได้ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นในหมู่นิสิตนักศึกษาและคณาจารย์
2 เพื่อเผยแพร่อนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น ได้เผยแพร่อนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น
3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นิสิต นักศึกษา มีความคิดสร้างสรรค์ ได้มีโอกาสในการแสดงต่อที่สาธารณชน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ได้ส่งเสริมให้นิสิต นักศึกษา มีความคิดสร้างสรรค์ ได้มีโอกาสในการแสดงต่อที่สาธารณชน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4 เพื่อเป็นการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่ประชาชน รวมทั้งเป็นการดำรงรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่ประชาชน รวมทั้งเป็นการดำรงรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : งานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 42 และงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 16
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. งบประมาณจัดโครงการ
เชิงต้นทุน บาท 169800 0.00
2. โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 80 0.00
3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมของภาคต่าง
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
4. นักศึกษาได้ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคในหมู่นิสิตนักศึกษาและคณาจารย์
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
5. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 40 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
14/11/2558  - 18/11/2558 ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ