โครงการค่ายอาสาพัฒนาชุมชน ป่าสักงาม (58-2.2.1)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
นักศึกษาใหม่เกิดสำนึกต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม การเป็นผู้นำ และผู้ตาม ตลอดจนเกิดความรัก ความสามัคคีในหมาู่คณะ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนและรุ่นพี่รุ่นน้อง โดยนักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจในด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ได้พัฒนาศักยภาพเพื่อนำไปสู่การเป็นภูมิสถาปนิกที่ดี ได้ฝึกความเป็นจิตอาสา การเสียสละเพื่อส่วนรวม สามารถแก้ปัญหาได้ในระยะเวลาที่จำกัด และสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมใหม่ได้อย่างรวดเร็ว
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและชุมชน ได้สร้างจิตสำนึกต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและชุมชนแก่นักศึกษา
2 เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3 เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง นักศึกษาเกิดความรัก ความสามัคคี สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลผลิตโครงการค่ายอาสาพัฒนาชุมชน ป่าสักงาม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- 2.2.1-58 ป่าสักงาม
เชิงปริมาณ คน 78 86 100
2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- 2.2.1-58 ป่าสักงาม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 82.73 100
3. การบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- 2.2.1-58 ป่าสักงาม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 87.45 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 100.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
28/02/2558  - 01/03/2558 28/02/2558  - 01/03/2558
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ