โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ

1. กิจกรรมสืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณียี่เป็ง
จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 โดยเวลา 08.30 น. คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ได้ร่วมกันปล่อยโคมลอย เวลา 13.30 น. การแข่งขันการทำกระทงใบตอง เวลา 16.00 น. การแข่งขันโคมไฟลอดห่วง พร้อมทั้งรับประทานอาหารเย็นร่วมกัน โดยได้ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการดังนี้
ผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมกิกจรรมเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายคิดเป็นร้อยละ 54.0 และร้อยละ 46.0 ตามลำดับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นบุคลากรของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 55.7 รองลงมาเป็นนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 25.0 บุคลากรภายนอก คิดเป็นร้อยละ 19.3 ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบข่าวจากหนังสือเวียนของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 46.4 บอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 35.7 และจากแหล่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 17.9 และเห็นควรให้จัดโครงการฯ ในโอกาสต่อไปคิดเป็นร้อยละ 100

2. กิจกรรมทำบุญให้สัตว์ทดลอง
จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 คณาจารย์บุคลากร นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี เจ้าหน้าที่บริษัทเบทาโกรภาคเหนือเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด คณาจารย์ บุคลากรอาวุโส ชมรมศิษย์เก่าสัตวศาสตร์แม่โจ้และชมรมศิษย์เก่าแม่โจ้ รวมทั้งสิ้น 120 คน
ผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 51.7 และร้อยละ 48.3 ตามลำดับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษาของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 55.2 รองลงมาเป็น เจ้าหน้าที่ อาจารย์ และลูกจ้างคิดเป็นร้อยละ 13.8 บุคลากรภายนอก คิดเป็นร้อยละ 3.4 ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบข่าวจากบอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 55.2 หนังสือเวียนของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 31 และจากแหล่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 13.8 และเห็นควรให้จัดโครงการฯ ในโอกาสต่อไปคิดเป็นร้อยละ 100

3. กิจกรรมสืบสานศิลปวัฒนธรรมวันสงกรานต์
จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 โดยมีกิจกรรมการแข่งขันทำลาบ และการแข่งขันแก่งอ่อม
การแข่งขันทำลาบ ผลการดำเนินงานดังนี้
การแข่งขันการทำลาบพื้นเมืองมีทีมผู้เข้าร่วมแข่งขัน จำนวน 8 ทีม ผลการแข่งขันดังนี้
1. ชนะเลิศ ฟาร์มโคนม-โคเนื้อ
2. รองชนะเลิศอันดับ 1 อาหารสัตว์
3. รองชนะเลิศอันดับ 2 ฟาร์มสุกร
4. รางวัลชมเชยอันดับที่ 1 สำนักงานคณบดี
การแข่งขันแกงอ่อมผลการดำเนินงานดังนี้
การแข่งขันแกงอ่อมมีผู้เข้าร่วมแข่งขัน จำนวน 8 ทีม โดยมีผลการแข่งขันดังนี้
1. รางวัลชนะเลิศ เจ้าหน้าที่บริษัทเบทาโกรเกษตรอุตสาหกรรมภาคเหนือ จำกัด
2. รองชนะเลิศอันดับ 1 ฟาร์มสัตว์ปีก
3. รองชนะเลิศอันดับ 2 ฟาร์มสุกร
4. รางวัลชมเชยอันดับที่ 1 ฟาร์มโคนม-โคเนื้อ

สรุปผลความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
คณาจารย์บุคลากร นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี เจ้าหน้าที่บริษัทเบทาโกรภาคเหนือเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด คณาจารย์ บุคลากรอาวุโส ชมรมศิษย์เก่าสัตวศาสตร์แม่โจ้และชมรมศิษย์เก่าแม่โจ้ รวมทั้งสิ้น 120 คน
ผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 51.7 และร้อยละ 48.3 ตามลำดับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษาของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 55.2 รองลงมาเป็น เจ้าหน้าที่ อาจารย์ และลูกจ้างคิดเป็นร้อยละ 13.8 บุคลากรภายนอก คิดเป็นร้อยละ 3.4 ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบข่าวจากบอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 55.2 หนังสือเวียนของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 31 และจากแหล่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 13.8 และเห็นควรให้จัดโครงการฯ ในโอกาสต่อไปคิดเป็นร้อยละ 100

4. กิจกรรมการทำบุญถวายเทียนพรรษา
จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 โดยมีคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการประมาณ 100 คน
คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมกิจกรรม ผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายคิดเป็นร้อยละ 65.7 และร้อยละ 34.3 ตามลำดับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษาของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 45.6 รองลงมาเป็น เจ้าหน้าที่ คิดเป็นร้อยละ 25.7 อาจารย์คิดเป็นร้อยละ11.4 และลูกจ้างคิดเป็นร้อยละ14.3 ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบข่าวจากบอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 45.7 หนังสือเวียนของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 42.9 และจากแหล่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 5.7 และเห็นควรให้จัดโครงการฯ ในโอกาสต่อไปคิดเป็นร้อยละ 100

5. กิจกรรมทำขวัญควาย
จัดขึ้นในวันที่ 17 สิงหาคม 2558 โดยช่วงเวลา 09.00-12.00 น. บุคลากร และนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทำขวัญควาย เวลา 12.00 รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
ผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 61.0 และรองลงมาเป็นบุคลากรสานสนับสนุน ร้อยละ 24.4 และบุคลากรสายวิชาการ ร้อยละ 14.6 ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบข่าวจากบอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 41.5 หนังสือเวียนของคณะฯ คิดเป็นร้อยละ 31.7 และจากแหล่งอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 26.8 และเห็นควรให้จัดโครงการฯ ในโอกาสต่อไปคิดเป็นร้อยละ 100



ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงประเพณี และวัฒนธรรมของชาวล้านนา นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงประเพณี และวัฒนธรรมของชาวล้านนามากขึ้น
2 2 เพื่อให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างบุคลากร และนักศึกษา บุคลากรและนักศึกษา ได้ทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างบุคลากร และนักศึกษา ก่อให้มีความสามัคคี มีส่วนร่วมในการทำงาน มีความสุข รักและภักดีต่อองค์กรมีความรับผิดชอบต่อสังคม
3 3 เพื่อสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่ต่อไป บุคลากรและนักศึกษามีส่วนร่วมและส่วนสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และเป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบต่อไป
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : บุคลากร นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 90 100 100
2. ค่าใช้จ่ายต่อกิจกรรม
เชิงต้นทุน บาท 80000 75000 93.75
3. บุคลากร นักศึกษา และบุคคลภายนอกได้รับความรู้ และได้ร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมอันดีงามให้คงอยู่ต่อไป
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 100 100
4. จำนวนบุคลากร และนักศึกษาที่เข้าร่วม
เชิงปริมาณ คน 550 521 94.73
รวม      97.12
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 97.12
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล 01/10/2557  - 30/09/2558
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ